กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการประชาชนร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2561
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองปัตตานี
วันที่อนุมัติ 10 พฤศจิกายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 1 กุมภาพันธ์ 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 285,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนันทรัตน์คงเขียว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธาณสุขที่สำคัญของประเทศ ส่งผลกระทบต่อประชาชนทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคม เกิดจากการขาดความร่วมมือในการคงบคุมโรคไข้เลือดออกจากภาคสังคมอื่นๆและชีวนิสัยของยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคของไข้เลือดออก รวมถึงปัจจัยแวดล้อมต่างๆที่ก่อให้เกิดโรคระบาด โดยพบว่ายุงมีการวางไข่และขยายพันธ์ได้ตลอดทั้งปี ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้ทำโครงการขึ้นเพือเป้นการเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาด โดยการให้ความรู้ รณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนกระต้นเตือนให้ประชาชนร่วมือกับเจ้าหน้าที่ในชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตลาดสด สวนสาธารณะและสถานที่ท่องเที่ยวตลอดจนทุกภาคส่วน ร่วมมือผนึกพลังความคิดร่วมมือควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชน

1.อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร

0.00
2 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม

2.ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า HI )ในชุมชนต่ำกว่า 10

0.00
3 3.เพื่อกระตุ้นเตือนให้ประชาชนเห็นความสำคัญและตระหนักถึงภัยไข้เลือดออก

3.ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (ค่า CI )ในโรงเรียนเป็น 0

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 285.00 0 0.00
2 พ.ค. 61 จัดประชุมและอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่ อสม. แกนนำชุมชน ครูอนามัยโรงเรียน นักเรียน ประชาชนทั่วไป 0 285.00 -

1.ประชุมช้แจงโครงการ เชิญผู้เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม แกนนำชุมชน ครูอนามัยโรงเรียนประชุมร่วมกันเพื่อค้นหา วิเคราะห์และประเมินแนวโน้มปัญหาโรคไข้เลือดออก เพื่อหาแนวทางการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา 2.จัดประชุมและอบรมให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก 3.ประชาสัมพันธ์โครงการและประสานงานหน่วยงานทีเกี่ยงข้องในการเข้าร่วมโครงการ 4.จัดเตรียมความพร้อมก่อนดำเนินโครงการ ได้แก่ เอกสารแผ่นพับ ทรายกำจัดลูกน้ำ โลชันทากันยุงและไฟฉาย 5.จัดกิจกรรมรณรงค์สร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนรวมพลังกำจัดลูกน้ำยุงลายตามวิธี5ป 1ข และ 3กโดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม แกนนำชุมชน นักเรียน ุ6.ให้สุขศึกษาเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โดยรถประชาสัมพันธ์ เปิดสปอต์ ให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก แจกเอกสาร แผ่นพับแลพ่นหมอกควันในเขตพื้นที่ชุมชนหมู่บ้านโดยอาสาสมัครสาธารณสุข และแกนนำชุมชน 7.สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราการป่วยไข้เลือดออกลดลง 2.ประชาชนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก 3.ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก 4.สามารถเสริมสร้าง ความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและโรงเรียน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ม.ค. 2561 16:27 น.