กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชาวโคกสะบ้ารู้ทันมะเร็ง
รหัสโครงการ L1473-61-01-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สถานีอนามัยตำบลโคกสะบ้า
วันที่อนุมัติ 19 ธันวาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 31 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 74,550.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุพัตรา ชุมแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ นางวลัยภรณ์ เยาดำ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.49,99.714place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 31 ม.ค. 2561 30 ก.ย. 2561 74,550.00
รวมงบประมาณ 74,550.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 240 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนลดการเสี่ยงจากโรคมะเร็ง
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

มะเร็ง เป็นเนื้องอกชนิดร้ายที่เนื้อมะเร็งมีการแทรกซึมเข้าไปในเนื้อเยื่อปกติที่อยู่โดยรอบ เป็นเซลล์ร่างกายที่มีการแบ่งตัวไม่เป็นไปตามแบบแผนอยู่นอกเหนืออำนาจการควบคุม สามารถแพร่กระจายไปยังบริเวณอื่นของร่างกายที่ห่างไกลออกไป และไม่ติดต่อกับก้อนมะเร็งเดิม มะเร็งสามารถเกิดจากเซลล์ทุกชนิดในร่างกาย ยกเว้น ขน ผม เล็บที่งอกออกมาแล้วเท่านั้นสาเหตุการเกิดมะเร็งสาเหตุที่แท้จริงของโรคมะเร็ง ในปัจจุบันยังไม่สามารถบอกได้แน่ชัด แต่มีข้อมูลสนับสนุนว่า มาจากสาเหตุหลายๆอย่างร่วมกัน เช่นสาเหตุภายในร่างกายเอง (เชื้อชาติ, พันธุกรรม, เพศ, อายุ เป็นต้น)สาเหตุจากภายนอกร่างกาย (ทางกายภาพ - แสงอาทิตย์, นิ่ว, แผลจากไฟไหม้, น้ำร้อนลวก ; ทางเคมี-สารหนู, สีย้อมผ้า, บุหรี่ เป็นต้น)การอักเสบจากการติดเชื้อเรื้อรังนานๆและฮอร์โมนที่มีผลต่อการเป็นมะเร็ง โดยจะพบค่าผิดปกติ เมื่อเป็นโรคมะเร็งการดูแลตนเองให้พ้นจากมะเร็งหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ที่อาจทำให้เกิดโรคมะเร็ง เช่น พฤติกรรมการรับประทานอาหารจำพวกดิบๆสุกๆ, มีไขมันสูง, ปิ้ง-ย่าง, ดองเค็ม, อาหารที่ถนอมด้วยเกลือไนเตรต-ไนไตรท์ หรืออาหารที่เก็บทิ้งไว้นานจนเชื้อราขึ้น ฯลฯ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า การดูแลสุขภาพอนามัยเป็นประจำสม่ำเสมอ รับประทานอาหารให้ถูกหลักอนามัยครบทั้งห้าหมู่ โดยเฉพาะผัก ผลไม้ ข้าว ข้าวโพด เมล็ดธัญพืชอื่นๆ การออกกำลังกายเป็นประจำ ร่วมไปกับการดูแลน้ำหนักไม่ให้มากเกินไป และเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค โดยพยายามทำจิตใจให้ เบิกบาน ไม่มีเรื่องเศร้าหมอง สามารถลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งได้ และเมื่อตรวจพบอาการผิดปกติให้รีบมาปรึกษาแพทย์ จากสถานการณ์โรคอัตราการป่วยและตายด้วยโรคมะเร็งทุกชนิดของสถานีอนามัยตำบลโคกสะบ้า ในช่วงปี พ.ศ. 2558 – 2560มีแนวโน้มสูงทุกปีคือ ปีพ.ศ. 2558 อัตราป่วยตายด้วยโรคมะเร็งทุกชนิด45.82 แสนประชากร , ปีพ.ศ. 2559 อัตราป่วยตายด้วยโรคมะเร็งทุกชนิด91.64 แสนประชากร และปีพ.ศ. 2560อัตราป่วยตายด้วยโรคมะเร็งทุกชนิด60.97 แสนประชากร สถานีอนามัยตำบลโคกสะบ้า ได้เห็นถึงความสำคัญที่จะทำให้ประชาชน ลดอัตราการป่วย ตาย ด้วยโรคมะเร็งทุกชนิด โดยเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองห่างไกลมะเร็ง จึงได้จัดทำโครงการชาวโคกสะบ้ารู้ทันมะเร็งขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมประชาชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดูแลสุขภาพตนเองที่ห่างไกลมะเร็ง

ประชาชนรู้จักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดูแลสุขภาพตนเองที่ห่างไกลมะเร็ง

1.00
2 เพื่อลดอัตราการป่วยตายด้วยโรคมะเร็งทุกชนิด

ลดอัตราการตาย

1.00
3 เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองและสุขภาวะของชุมชน

ทุกส่วนรวมร่วมกันดูแลสุขภาพตนเองและสุขภาวะของชุมชน

1.00
4 เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองและสุขภาวะของชุมชน

ทุกส่วนรวมร่วมกันดูแลสุขภาพตนเองและสุขภาวะของชุมชน

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1จัดทำโครงการ 2ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3ประชุมชี้แจงโครงการกับอสม.เพื่อหากลุ่มเสี่ยงและผู้สนใจ
4 จัดอบรมให้ความรู้เรื่อง เรื่องการเกิดของมะเร็งชนิดต่างๆ และการปฏิบัติตัวเพื่อห่างไกลจากมะเร็งแก่
กลุ่มเสี่ยงป่วยด้วยโรคมะเร็งและผู้สนใจ จำนวน240 คน(จำนวน4รุ่นๆละ 60คน)จำนวนรุ่นละ 1 วัน 5 ติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโดย อสมร่วมกับเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยตำบลโคกสะบ้า 6 สรุปผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพการดูแลสุขภาพตนเองให้ห่างไกลมะเร็ง 2.อัตราการป่วยตายด้วยโรคมะเร็งทุกชนิด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 ม.ค. 2561 10:14 น.