กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)
25.00 30.00 5.00

 

 

ภายหลังการอบรมให้ความรู้และกิจกรรมรณรงค์ร้านค้าที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้ความร่วมมือเพิ่มขึ้นอีก 5 ร้าน

2 เพื่อเพิ่มกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ
ตัวชี้วัด : จำนวนกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(จำนวนกิจกรรม/นวัฒกรรม)
1.00 2.00 1.00

 

 

ภายหลังการฝึกอบรม กลุ่ม/ชมรม อสม.ได้ประสานสถานศึกษาและ อบต.ร่วมกันจัดกิจกรรมเดินรณรงค์ต้านยาเสพติด กิจกรรมเทเหล้าเผาบุหรีและได้รับประกาศนียบัตรรับรองซึ่งลงนามโดย นายอำเภอ สาธารณสุขอำเภอและนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะขนุน

3 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
80.00 88.00 8.00

 

 

มีบุคลากรจากสถานศึกษาเป็นเครือข่ายเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชนและสถานศึกษาเพิ่มขึ้น 8 คน นอกเหนือจาก อสม.บ้านห้วยพลู

4 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)
25.00 30.00 5.00

 

 

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเพิ่มขึ้น(คน)
80.00 88.00 8.00

 

 

 

6 เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด : กำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
80.00 88.00 8.00

 

 

 

7 เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ
ตัวชี้วัด : กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(กิจกรรม)
1.00 2.00 1.00

 

 

 

8 : เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องโทษของยาเสพติด ให้แก่ประชาชน เยาวชน เด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : จากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังการจัดอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นและจากการสอบถามนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง และให้คำมั่นว่าจะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
46.29 85.00 38.71

 

 

 

9 เพื่อเพิ่มจำนวนรูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : รูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น (กิจกรรม/นวัตกรรม
1.00 2.00 1.00