กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. มีจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย จำนวน 30 ร้าน
  2. มีกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ จำนวน 2 กิจกรรม
  3. มี อาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงาน เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ จำนวน 88 คน
  4. มีร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จำนวน 30 ร้าน
  5. มีอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน 88 คน
  6. มีรูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน จำนวน 2 กิจกรรม
  7. มีกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน จำนวน 88 คน
  8. มีกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ  จำนวน 2 กิจกรรม
  9. ร้อยละ 85 ของ ประชาชน เยาวชน เด็กวัยเรียนมีความรู้เรื่องโทษของยาเสพติด และ ลด ละ เลิก ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  10. กลุ่มเด็กวัยเรียน เยาวชน ประชาชนจำนวน216คน มีความรู้และห่างไกลสิ่งเสพติด
  11. ประชาชนในตำบลเกาะขนุน ทั้ง 14 หมู่บ้าน เข้มแข็งในการป้องกันปัญหายาเสพติด
  12. จัดกิจกรรมณรงค์ให้ทุกภาคส่วนมาเข้าร่วม ทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และร่วมกันวางแผนในการที่จะดูแลชุมชนและครอบครัวให้ห่างไกลจากยาเสพติด โดยมีผู้มาร่วมกิจกรรมรณรงค์ จำนวน 500 คน โดยมีโรงเรียนในเขตตำบลเกาะขนุนจำนวน 9 แห่ง ชมรม อสม. กลุ่มประชาชนทั่วไป และ ที่ทำการปกครองอำเภอพนมสารคาม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)
25.00 30.00 5.00

ภายหลังการอบรมให้ความรู้และกิจกรรมรณรงค์ร้านค้าที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้ความร่วมมือเพิ่มขึ้นอีก 5 ร้าน

2 เพื่อเพิ่มกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ
ตัวชี้วัด : จำนวนกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(จำนวนกิจกรรม/นวัฒกรรม)
1.00 2.00 1.00

ภายหลังการฝึกอบรม กลุ่ม/ชมรม อสม.ได้ประสานสถานศึกษาและ อบต.ร่วมกันจัดกิจกรรมเดินรณรงค์ต้านยาเสพติด กิจกรรมเทเหล้าเผาบุหรีและได้รับประกาศนียบัตรรับรองซึ่งลงนามโดย นายอำเภอ สาธารณสุขอำเภอและนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะขนุน

3 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
80.00 88.00 8.00

มีบุคลากรจากสถานศึกษาเป็นเครือข่ายเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชนและสถานศึกษาเพิ่มขึ้น 8 คน นอกเหนือจาก อสม.บ้านห้วยพลู

4 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)
25.00 30.00 5.00

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนเพิ่มขึ้น(คน)
80.00 88.00 8.00

 

6 เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
ตัวชี้วัด : กำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
80.00 88.00 8.00

 

7 เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ
ตัวชี้วัด : กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(กิจกรรม)
1.00 2.00 1.00

 

8 : เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องโทษของยาเสพติด ให้แก่ประชาชน เยาวชน เด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : จากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังการจัดอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นและจากการสอบถามนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง และให้คำมั่นว่าจะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
46.29 85.00 38.71

 

9 เพื่อเพิ่มจำนวนรูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : รูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น (กิจกรรม/นวัตกรรม
1.00 2.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย (2) เพื่อเพิ่มกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน (4) เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (5) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน (6) เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน (7) เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ (8) : เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องโทษของยาเสพติด ให้แก่ประชาชน เยาวชน เด็กวัยเรียน (9) เพื่อเพิ่มจำนวนรูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้กับกลุ่มเยาวชน กลุ่มผู้นำชุมน เยาวชน นักเรียน และประชนชน (2) เดินรณรงค์วันยาเสพติดโลก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh