กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ รณรงค์ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ชุมชนบ้านลำปำ ปี ๒๕๖๑ ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางโสภา เยาวชิรพงศ์

ชื่อโครงการ รณรงค์ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ชุมชนบ้านลำปำ ปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-2-009 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"รณรงค์ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ชุมชนบ้านลำปำ ปี ๒๕๖๑ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รณรงค์ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ชุมชนบ้านลำปำ ปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " รณรงค์ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ชุมชนบ้านลำปำ ปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2561-L7572-2-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก ยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญของสาธารณสุข และของประชาชน พาหะที่นำเชื้อโรคไข้เลือดออกมาสู่คนเราคือ ยุงลาย โดยนำเชื้อไวรัสแดงกี่ ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสของการเกิดโรคไข้เลือดออก การระบาดของโรคไข้เลือดออก เกิดขึ้นทั่วทุกภาคของประเทศไทย นอกจากยุงลายจะนำเชื้อโรคไข้เลือดออกแล้ว ยังมีอีกหลายโรค เช่น โรคปวดข้อออกผื่น โรคไข้เหลือง เป็นต้น ซึ่งล้วนแล้วแต่จะทำให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งสิ้น โรคไข้เลือดออกจะมีการระบาดเกิดขึ้นทุกปี เว้นแต่ว่าปีไหนจะรุนแรงกว่ากัน การเกิดโรคไข้เลือดออกมักจะเกิดขึ้นในช่วงฤดูฝน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงเดือน กันยายน ของทุกปี เชื้อโรคไข้เลือดออกในปัจจุบันมีการวิวัฒนาการของเชื้อเองซึ่งความรุนแรงของโรคก็จะรุนแรงขึ้นตามไปด้วย นอกจากอัตราการป่วยแล้ว อัตราการตายหรือเสียชีวิตก็เพิ่มขึ้นด้วย ทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต อันประเมินค่าไม่ได้ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวนขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิดทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด จากสถิติ3 ปีย้อนหลัง พบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของชุมชนบ้านออก ในปี 2558 ไม่ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2559 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 5 ราย ปี 2560 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 1 รายซึ่งจะเห็นว่าในชุมชนบ้านออกยังมีผู้ป่วยป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก และมีแนวโน้มที่จะพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทุกปี ดังนั้น ชุมชนบ้านออก จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเตรียมการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่และป้องกันสาเหตุการเกิดโรคต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
  2. เพื่อเน้นให้ชุมชนตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  4. เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ อสม. และผู้นำชุมชน
  2. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การเดินรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำลาย
  3. ติดตามสำรวจลูกน้ำยุงลายในชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง 2.ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ 3.ประชาชนเกิดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องไข้เลือดออก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ อสม. และผู้นำชุมชน

วันที่ 27 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ อสม. และผู้นำชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ อสม. และผู้นำชุมชน

 

15 0

2. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การเดินรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำลาย

วันที่ 19 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การเดินรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำลาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรุ้จากการอบรม แจกจ่ายแผ้นพับความรู้ ทรีายอะเบต แก่สมาชิกในชุมชน

 

50 0

3. ติดตามสำรวจลูกน้ำยุงลายในชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง

วันที่ 1 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามสำรวจลูกน้ำยุงลายในชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตามบ้านเรือนมีการใช้ทรายอะเบตในภาชนะน้ำใช้ต่างๆ และการพบลูกน้ำยุงลายในชุมชนลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index≤10)
0.00 0.00

 

2 เพื่อเน้นให้ชุมชนตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : สมาชิกในชุมชน ร้อยละ 70 มีความตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนชนลดลง≥50 %
0.00

 

4 เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : สมาชิกในชุมชน ร้อยละ 70 มีความใส่ในเรื่องการบริหารจัดการขยะ เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 52
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 52
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน (2) เพื่อเน้นให้ชุมชนตระหนักถึงอันตรายของยุงลายและโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน (4) เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่ อสม. และผู้นำชุมชน (2) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การเดินรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำลาย (3) ติดตามสำรวจลูกน้ำยุงลายในชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รณรงค์ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ชุมชนบ้านลำปำ ปี ๒๕๖๑ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-2-009

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางโสภา เยาวชิรพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด