กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน


“ โครงการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรพ.สต.ท่าหิน ปี 2561 ”

ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจารุพรรณ โปชู

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรพ.สต.ท่าหิน ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5240-1-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรพ.สต.ท่าหิน ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรพ.สต.ท่าหิน ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรพ.สต.ท่าหิน ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5240-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,036.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยและมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม และเศรษฐกิจ ทำให้วิถีชีวิตของคนเปลี่ยนแปลงไปและจากพฤติกรรมการปฏิบัติตัวที่ไม่ถูกต้องทางสุขภาพ เช่น การสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลลกอฮอล์ การบริโภคอาหารแบบตะวันตก การบริโภคอาหารเกินความจำเป็น การรับประทานผัก ผลไม้ไม่เพียงพอ การนั่งๆนอนๆขาดการเคลื่อนไหวของร่างกาย การไม่สามารถจัดการกับความเครียดที่เกิดขึ้นได้ ซึ่งส่งผลกระทบทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ อารมร์ ทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม ผู้ป่วยมีความวิตกกังวล เกี่ยวกับความเจ็บป่วยที่เรื้อรัง เนื่องจากโรคดังกล่าวไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ทำให้ต้องสุญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลค่อนข้างสูงและต้องใช้ระยะเวลาในการรักษานาน หากไม่ดำเนินการแก้ไขปัญหาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จะส่งผลให้อัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคความดันและเบาหวานเพิ่มมากขึ้นในอนาคต เพื่อป้องกันไม่ให้อัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคความดันและเบาหวานเพิ่มมากขึ้นในอนาคต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วนตำบลท่าหิน ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง โดยใช้แบบคัดกรองของกรมควบคุมโรคไม่ติดต่อ ในกลุ่มประชากรอายุ35ปีขึ้นไป จำนวน1,400คน พบผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 239 คน คิดเป็นร้อยละ 8.72 จำแนกเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน148คิดเป็นร้อยละ 1.6,โรคเบาหวาน จำนวน37คน คิดเป็นร้อยละ 1.6,โรคเบาหวานและความดัน จำนวน42คน คิดเป็นร้อยละ 1.6 จากการสำรวจข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย จำนวน140คน พบว่ามีความรุ้ระดับปานกลางร้อยละ77 มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง เช่นการรับประทานอาหารรสเค็มบ่อยครั้ง ร้อยละ 62 รับประทานอาหารทอดต่างๆบ่อยครั้ง ร้อยละ 68 และการรับประทานผักเป็นบางครั้งร้อยละ 82 พฤติกรรมด้านการออกกำลังกาย พบว่า ผู้ป่วยออกกำลังกายบางครั้งร้อยละ 58 ผู้ป่วยสวมรองเท้าไม่ถูกต้องร้อยละ 38 ผู้ป่วยสังเกตความผิดปกติของตนเองเป็นบางครั้ง ร้อยละ66 ซึ่งจากพฤติกรรมดังกล่าวเป็น พฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องซึ่งทำให้มีกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยเพิ่มมากขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคดังกล่าวเพิ่มมากขึ้นแก่ประชากรในกลุ่มเสี่ยง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2560ขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีจิตใจที่ร่าเริงแจ่มใส เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาตำบลท่าหินให้น่าอยู่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพิ่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. 2.เพื่อให้ประชากรอายุ35ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจคัดกรอง ความดัน เบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการสร้างสุขภาพในวิถีชีวิตที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ซึ่งจะเป็นการลดภาวะแทรกซ้อน ทำให้มีสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ ลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจส่งผลให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาตำบลท่าหินให้น่าอยู่ต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจคัดกรอง ความดัน เบาหวาน

วันที่ 20 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจคัดกรองผู้ป่วยความดัน และเบาหวาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินงานโครงการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้จัดกิจกรรม ตรวจวัดความดันโลหิต ดัชนีมวลกายและเจาะเลือดคัดกรองโรคเบาหวานในชุมชน จำนวนเป้าหมายประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ให้ความรู้ในกลุ่มต่างๆ จำนวน1234 คน จากการดำเนินการในปี 2561 พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 47 ราย กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 181 ราย หลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเบาหวานเป็นกลุ่มเบาหวาน 1 คนเป็นกลุ่มปกติ 48 คน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงเป็นกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 2 คนเป็นกลุ่มปกติ 179 คน

 

1,368 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ดำเนินงานโครงการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้จัดกิจกรรม ตรวจวัดความดันโลหิต ดัชนีมวลกายและเจาะเลือดคัดกรองโรคเบาหวานในชุมชน จำนวนเป้าหมายประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ให้ความรู้ในกลุ่มต่างๆ จำนวน1234 คน จากการดำเนินการในปี 2561 พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 47 ราย กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 181 ราย หลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเบาหวานเป็นกลุ่มเบาหวาน 1 คนเป็นกลุ่มปกติ 48 คน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงเป็นกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 2 คนเป็นกลุ่มปกติ 179 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพิ่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1.ประชากรอายุ35ปีขึ้นไป มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงอย่างน้อยร้อยละ90
100.00

 

2 2.เพื่อให้ประชากรอายุ35ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1.ประชากรอายุ35ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 90
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพิ่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) 2.เพื่อให้ประชากรอายุ35ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรอง ความดัน เบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรพ.สต.ท่าหิน ปี 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5240-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจารุพรรณ โปชู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด