กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน


“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 1 -6 ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี งบประมาณ 2561 ”

ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวันนา ชอบแต่ง

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 1 -6 ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี งบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5240-2-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 กันยายน 2561 ถึง 13 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 1 -6 ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี งบประมาณ 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 1 -6 ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี งบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 1 -6 ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี งบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5240-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 กันยายน 2561 - 13 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,065.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นตัวแทนประชาชนในการปฏิบัติงานสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ซึ่งเป็นผู้ที่ให้ความช่วยเหลือดูแลทุกข์สุขให้แก่ประชาชนในหมู่บ้าน ในชุมชนของตนเองด้วยความเสียสละและไม่มีค่าตอบแทนและแนวทางการพัฒนาสาธารณสุขมูลฐานแนวใหม่หรืองานสุขภาพภาคประชาชนเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนดูแลกันเองในด้านสุขภาพอนามัย โดยพัฒนาศักยภาพของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ที่มีอยู่เดิมแล้วในชุมชนเป็นผู้แสดงบทบาทนำในด้านสุขภาพอนามัย นอกจากนี้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ยังเป็นผู้ที่รู้ปัญหาในหมู่บ้าน ของตนเอง สำรวจและค้นหาปัญหาตลอดจนหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกับประชาชน ซึ่งเป็นเรื่องที่ ในอนาคตต่อไป ที่ตัวอาสาสมัครเองจะต้องทำได้ และประชาชนเองก็ต้องรู้ปัญหาและรู้วิธีแก้ปัญหาร่วมกับ อสม. และหน่วยงานที่รับผิดชอบชุมชนนั้น ๆ เพราะปัญหาที่เกิดขึ้น หากได้รับการแก้ไขตรงจุดจะเกิดผลดี กับชุมชนและประชาชน เพราะประชาชนในพื้นที่เป็นผู้ที่สามารถรู้ปัญหาในชุมชนของตนเองมากกว่าคนอื่น ๆ
เพราะฉะนั้น การแก้ไขปัญหาโดยชุมชนเอง สามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงตามจุดและความต้องการของชุมชน โดยเฉพาะ อสม. ซึ่งเป็นตัวแทนในเรื่องสุขภาพอนามัยในชุมชน จะต้องมีความรู้และสามารถเป็นแกนนำให้กับคนในชุมชนที่ตัวเองรับผิดชอบได้เป็นอย่างดีในด้านต่าง ๆ เช่น การดูแลสุขภาพ¬¬¬¬¬¬¬¬ ขั้นพื้นฐาน การส่งเสริมและการสร้างสุขภาพในชุมชน การสำรวจปัญหาและสาเหตุของปัญหา ตลอดจนการหาแนวทางแก้ไขปัญหาและเรื่องอื่น ๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่ อสม. ซึ่งเป็นตัวแทนที่ชุมชนเลือกขึ้นมาให้เป็นตัวแทนประชาชนมาก่อน ในงานสาธารณสุขมูลฐานเดิม จะต้องพัฒนาตัวเองให้มีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติกิจกรรมในเรื่องดังกล่าวเพื่อให้เป็นแบบอย่าง แก่ประชาชนในหมู่บ้านได้เป็นอย่างดี ด้วยเหตุผลดังที่กล่าวมา หมู่ที่ 1-6 ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ให้สามารถถ่ายทอดความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองแก่ประชนชนได้ถูกต้อง
  2. 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขให้สามารถเป็นผู้นำด้านการส่งเสริมและการสร้างสุขภาพได้
  3. 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสามสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ให้สามารถสำรวจปัญหา วางแผนเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาชุมชนของตนเองได้ถูกต้อง
  4. 4.ประชนชนรู้ปัญหาและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมฟื้นฟูอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถถ่ายทอดความรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยให้แก่ประชนชนได้ถูกต้อง
2.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถเป็นผู้นำด้านสร้างและส่งเสริมสุขภาพในหมู่ บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.อาสาสมัครสาธารณสุข สามารถสำรวจปัญหา วางแผนและหาแนวทางแก้ไขปัญหาชุมชนได้ ถูกต้อง 4.ประชาชนรู้ปัญหาและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาชุมชนได้ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมฟื้นฟูอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

วันที่ 12 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน และให้ความรู้กับชาวบ้านตำบลท่าหิน หมู่ที่1-6

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่1-6 ต.ท่าหิน ได้จัดกิจกรรม อบรมอสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านจำนวน 68 คน จำนวน 2 วัน อสม.สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านสาธารณสุขให้แก่ประชาชนได้ถูกต้อง สามารถเป็นผู้นำด้านสุขภาพและส่งเสริมในหมู่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถค้นหาปัญหา วางแผนเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาของชุมชนได้

 

62 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ให้สามารถถ่ายทอดความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองแก่ประชนชนได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ให้สามารถถ่ายทอดความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองแก่ประชนชนได้ถูกต้อง ร้อยละ100
100.00

 

2 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขให้สามารถเป็นผู้นำด้านการส่งเสริมและการสร้างสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขให้สามารถเป็นผู้นำด้านการส่งเสริมการสร้างสุขภาพได้ ร้อยละ100
100.00

 

3 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสามสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ให้สามารถสำรวจปัญหา วางแผนเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาชุมชนของตนเองได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสามสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ให้สามารถสำรวจปัญหา วางแผนเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาชุมชนของตนเองได้ถูกต้อง ร้อยละ100
100.00

 

4 4.ประชนชนรู้ปัญหาและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.ประชนชนรู้ปัญหาและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ถูกต้อง ร้อยละ100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ให้สามารถถ่ายทอดความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองแก่ประชนชนได้ถูกต้อง (2) 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขให้สามารถเป็นผู้นำด้านการส่งเสริมและการสร้างสุขภาพได้ (3) 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสามสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ให้สามารถสำรวจปัญหา วางแผนเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาชุมชนของตนเองได้ถูกต้อง (4) 4.ประชนชนรู้ปัญหาและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมฟื้นฟูอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมู่ที่ 1 -6 ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี งบประมาณ 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5240-2-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวันนา ชอบแต่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด