กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน


“ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกปี2561 ”

ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวันวิสาข์ เทพเดชา

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกปี2561

ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5240-1-7 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกปี2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกปี2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกปี2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5240-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทยในแต่ละปีมีผู้ป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวนมากทำให้มีการสูญเสียงบประมาณที่ใช้ในการรักษาอย่างมากมายจากรายงานทางระบาดวิทยาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 25560 – 17 ตุลาคม 2560 มีผู้ป่วยรวมทั้งสิ้น 42,035 ราย อัตราป่วย64.25 ต่อประชากรแสนคน (พบผู้ป่วย 16 คน ในประชากรหนึ่งแสนคน จำนวนนี้เสียชีวิต 56 ราย อัตราป่วยตายร้อยละ 0.13จังหวัดสงขลา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 – 17 ตุลาคม 2560 พบผู้ป่วยจำนวน 2800 รายคิดเป็นอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออก199.16 ต่อประชากรแสนคนซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัดเสียชีวิต 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตาย0.36 ต่อแสนประชากร พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จากข้อมูลการฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวนตั้งแต่ เดือนมกราคม พ.ศ.2555 ถึง เดือนตุลาคม พ.ศ. 2560 พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในหมู่ที่ 7-9 ตำบลท่าหิน จำนวน 1 ราย ซึ่งไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัด (อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก < 79 ต่อแสนประชากรอัตราตาย < 0.15ต่อแสนประชากร)แต่อย่างไรก็ตามจากสถานการณ์ในภาพรวม คาดว่าโอกาสเสี่ยงจะเกิดโรคมีสูง เนื่องจากมีการระบาดของ โรคเกิดในพื้นที่ใกล้เคียงค่อนข้างสูงมาก จากการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายของหมู่ที่ 7-9 ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา กลางเดือนกันยายน 2560 ค่า HIมีค่า 9.2ตามเกณฑ์ค่า HI< 10และCI = 0( ไม่เกินเกณฑ์ ) ประกอบกับสภาพภูมิศาสตร์ของตำบลท่าหินในเขตพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน มีลักษณะร้อนชื้นมีป่ารกทึบปกคลุมทั่วบริเวณซึ่งเอื้อต่อการเกิดโรคประกอบกับลักษณะอาชีพของชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพขึ้นตาลโตนดร้อยละ 85 ซึ่งมี โอ่ง ตุ่ม สำรองใช้เป็นจำนวนมากวางกระจาย เหมาะต่อการอาศัยของยุงลายที่เป็นพาหนะนำโรค ส่วนบริเวณวัดและโรงเรียนมีลักษณะภูมิศาสตร์ที่ปกคลุมด้วยป่า ด้านหน้าโรงเรียนเป็นที่เผาศพ และมีเจดีย์เก็บอัฐิ มีแจกันใส่น้ำเป็นจำนวนมาก บางครั้งไม่ได้คว่ำจึงมียุงลายมาวางไข่ในภาชนะดังกล่าว ประกอบกับเมื่อมีงานศพชาวบ้านมักจะนำมะพร้าวมาขูดแลไม่ได้เก็บกวาดทำให้ยุงลายอาศัยในบริเวณดังกล่าวได้ เมื่อมีผู้ป่วยเกิดขึ้น จะมีการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วถ้าหากไม่มีการควบคุม ป้องกันหรือทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ประกอบกับสภาพปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหาของพื้นที่เอื้อต่อการเพาะพันธ์ยุงลาย ทำให้มีโอกาสเกิดไข้เลือดออกได้ และการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ได้ผลสำเร็จนั้น ยังต้องอาศัยความร่วมมือกันอย่างจริงจัง จากทุกๆฝ่ายไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน โรงเรียน และประชาชนทั่วไป จากหลักการและเหตุผลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน จึงจัดทำโครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ประจำปี2561เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนตำบลท่าหินหมู่ที่ 7-9 จำนวน 1692 คน
  2. หลังคาเรือนจำนวน 359 หลังคาเรือน
  3. โรงเรียน 1 โรง ,วัด จำนวน1แห่ง,รพ.สต.จำนวน 1แห่ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกปี2561

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 1,351
กลุ่มผู้สูงอายุ 311
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ประชาชนในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน สามารถสร้างหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย โดยการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน ทั้งทางด้านเทคนิคและวิชาการ อันเป็นกระบวนการแก้ไขปัญหาโรคในท้องถิ่นโดยกลวิธีทางด้านสาธารณสุขมูลฐาน โดยชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ไขปัญหาในพื้นที่ 2.สามารถลดอัตราป่วย อัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตรับผิดชอบ จนเป็นพื้นที่ปลอดไข้เลือดออกได้อย่างต่อเนื่อง 3.นักเรียนมีความรู้เข้าใจการป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นสามารถนำความรู้ไปปฎิบัติดูแลตนเองและครอบครัวได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกปี2561

วันที่ 15 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดเวทีประชาคม 2.จัดกิจกรรมรณรงค์ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน วัด โรงเรียน 3.ให้ความรู้ในรูปแบบต่างๆ 4.อบรมเชิงปฎิบัติการให้นักเรียน 5.สำรวจลูกน้ำยุงลาย พร้อมกำจัด 6.ทีมควบคุมโรคประจำตำบล พ่นสารเคมี พร้อมสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำ 7.เฝ้าระวังการเกิดโรคในพื้นที่
จัดซื้อทรายเคมีฟอส จำนวน 5 ถัง ถังละ3000 บาท ค่าอาหารกลางวัน ค่าอาหารว่าง ค่าวัสดุโฆษณา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชุมชี้แจง/ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก/แนวทางการดำเนินโครงการ แก่ผู้นำชุมชน อสม.และคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่าหินปีละ 1 ครั้ง 2.สำรวจลูกน้ำยุงลาย พร้อมกำจัดยุงลายด้วยวิธีกายภาพ และทางเคมีโดยเครือข่ายอสม. และประชาชน โรงเรียน วัด ในหมู่บ้านทุกๆ3เดือน 3.จัดกิจกรรมรณรงค์ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชน โรงเรียน วัด เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปีละ 2 ครั้ง จำนวน 359 หลังคาเรือน โรงเรียน 1 โรง 4.ให้ความรู้ในรูปแบบต่างๆเช่น แผ่นไวนิล การจัดนิทรรศการให้ความรู้ แจกแผ่นพับ 3 ครั้งต่อปี

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนตำบลท่าหินหมู่ที่ 7-9 จำนวน 1692 คน
ตัวชี้วัด :
100.00

 

2 หลังคาเรือนจำนวน 359 หลังคาเรือน
ตัวชี้วัด :
100.00

 

3 โรงเรียน 1 โรง ,วัด จำนวน1แห่ง,รพ.สต.จำนวน 1แห่ง
ตัวชี้วัด :
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1692
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 1,351
กลุ่มผู้สูงอายุ 311
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนตำบลท่าหินหมู่ที่ 7-9 จำนวน 1692 คน (2) หลังคาเรือนจำนวน 359 หลังคาเรือน (3) โรงเรียน 1 โรง ,วัด จำนวน1แห่ง,รพ.สต.จำนวน 1แห่ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกปี2561

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกปี2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5240-1-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวันวิสาข์ เทพเดชา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด