กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการจัดการพฤติกรรมสุขภาพประชาชนเสี่ยงโรคเรื้อรัง
รหัสโครงการ L46181710012
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านหนองบุ ต.ชอนสมบูรณ์ อ.หนองม่วง จ.ลพบุรี
วันที่อนุมัติ 11 ตุลาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 12,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ น.ส.ศุจีนันทน์ พลอยภักดี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลชอนสมบูรณ์ (หมู่ 2, 6, 7, 8, 9, 12) อำเภอหนองม่วง จังหวัดลพบุรี
ละติจูด-ลองจิจูด 15.288,100.763place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานยาสูบ , แผนงานสุรา , แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2560 30 ก.ย. 2561 12,000.00
รวมงบประมาณ 12,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 67 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
74.75
2 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
70.00
3 ร้อยละของประชาชน(อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป) ที่สูบบุหรี่
8.89
4 ร้อยละของเด็กและเยาวชน(อายุไม่เกิน 25 ปี)ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
47.10
5 ร้อยละของผู้ใหญ่(อายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป)ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
52.90
6 กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ(กิจกรรม)
1.00
7 ร้อยละของประชาชน(อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป) ที่สูบบุหรี่
8.89

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยสังคมปัจจุบัน อัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีแนวโน้มสูงขึ้น ประชาชนส่วนใหญ่มีภาวะปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพอันเนื่องมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ การบริโภคอาหารและโภชนาการที่มีความเสี่ยงโรค มีความรอบรู้ด้านสุขภาพน้อย เกิดภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพที่สูงขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

74.75 75.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

70.00 75.00
3 เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี

อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

47.10 30.00
4 เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป

อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

52.90 40.00
5 เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ

กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(กิจกรรม)

1.00 3.00
6 เพื่อลดอัตราการสูบบุหรี่ของประชาชน

อัตราการสูบบุหรี่ของประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปลดลงเหลือ(ร้อยละ)

8.89 5.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 1 12,000.00
21 เม.ย. 61 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการความรู้ปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดเสี่ยงลดโรค การพัฒนาตนเองเป็นต้นแบบด้านสุขภาพ งดเหล้างดบุหรี่ มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ 0 0.00 12,000.00
  1. จัดการประชุม อสม. เพื่อทบทวนความรู้แนะนำในการดูแลสุขภาพแก่ประชาชน
  2. จัดทำแผนดำเนินงาน
  3. ชี้แจงการดำเนินงานกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
  4. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามกลุ่มโดยอบรมให้ความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมตามหลัก 6 อ.
  5. สรุปการดำเนินงานพร้อมทั้งรายงานผล
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้และสามารถดูแลด้านสุขภาพของตนได้อย่างถูกต้อง
  2. ประชาชนลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง
  3. ลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของประชาชน
  4. เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดการเกิดโรคเรื้อรัง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ก.พ. 2561 15:37 น.