กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินงานโครงการสานพลังครอบครัวสู่ชุมชนปลอดบุหรี่ ปี 2561 ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกศิลา ซึ่งมีกิจกรรมอบรมฟื้นฟูให้ควาใรู้เเก่เเกนนำ/อสม. เรื่องพิษภัยบุหรี่ เพื่อนำความรู้ไปเเนะนำกลุ่มเป้าหมายที่สูบบุหรี่ในเขตรับผิดชอบของตนเองลด ละ เลิกบุหรี่ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 262 คน เเละกิจกรรมสร้างความรู้ เเละความตระหนัดเกี่ยวกับโทษ เเละพิษภัยบุหรี่กับนักเรียนในโรงเรียนทั้งสองโรงเรียน คือ ผู้ปกครองในการลด ละ เลิกบุหรี่ มีนักเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 200 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1เพื่อให้แกนนำ/อสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่
ตัวชี้วัด : - แกนนำ/ อสม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่
0.00 0.00

 

2 ข้อที่ 2เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : -ผู้สูบบุหรี่ลดปริมาณการสูบลงจากเดิม -ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบได้มากกว่า ๖ เดือนได้อย่างน้อย ร้อยละ ๕๐ของผู้เข้าร่วมโครงการเลิกบุหรี่
0.00

 

3 ข้อที่ 3เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ โดยเน้นในเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : เด็ก และเยาวชนในพื้นที่ตั้งใจที่จะไม่สูบบุหรี่อย่างน้อย ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 262
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0 262
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้แกนนำ/อสม.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่ (2) ข้อที่ 2เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน (3) ข้อที่ 3เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ โดยเน้นในเด็กและเยาวชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แกนนำ/ อสม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่ (2) ผู้สูบบุหรี่ลดปริมาณการสูบลงจากเดิม -ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบได้มากกว่า ๖ เดือนได้อย่างน้อย ร้อยละ ๕๐ของผู้เข้าร่วมโครงการเลิกบุหรี่ (3) เด็ก และเยาวชนในพื้นที่ตั้งใจที่จะไม่สูบบุหรี่อย่างน้อย ร้อยละ 80

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ช่วงเวลาที่จะทำกิจกรรมโครงการ มีงานอื่นที่เข้ามาเร่งด่วน จึงไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้ตามเเผนงาน/โครงการที่วางไว้ (2) ควรโอนเงินโครงการให้เร็วกว่านี้

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh