กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ ครัวสุขภาพลดเค็ม ในครัวเรือนศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสุรภรณ์ เกตุแสง

ชื่อโครงการ ครัวสุขภาพลดเค็ม ในครัวเรือนศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-01-016 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ครัวสุขภาพลดเค็ม ในครัวเรือนศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ครัวสุขภาพลดเค็ม ในครัวเรือนศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " ครัวสุขภาพลดเค็ม ในครัวเรือนศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2561-L7572-01-016 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,770.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลก พบว่าทั่วโลกมีผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูงเกือบ 1,000 ล้านคน 2 ใน 3 ของจำนวนนี้อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา โดยพบว่าคนในวัยผู้ใหญ่ของเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมถึงประเทศไทย มีประชากร๑ใน๓มีภาวะความดันโลหิตสูงและคาดว่าในปี๒๕๖๘ ประชากรในวัยผู้ใหญ่จะเป็นโรคความดันโลหิตสูงประมาณ ๑.๕๖พันล้านคน ส่วนในประเทศไทย จากข้อมูลสถิติสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ในปี 2555 มีผู้เสียชีวิตจากสาเหตุความดันโลหิตสูง จำนวน 3,684 คน สถานการณ์ป่วยและเข้ารับการรักษาในสถานบริการสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข ด้วยโรคความดันโลหิตสูง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกภาค เมื่อเปรียบเทียบจากปี ๒๕๔๔และปี ๒๕๕๕ พบว่าอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนจะมีผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มจาก ๑๕๖,๔๔๒ รายเป็น ๑,๐๐๙,๓๘๕ราย ซึ่งถือว่ามีอัตราการเพิ่มขึ้นกว่า ๕ เท่า อ่านข่าวต่อได้ที่: https://www.thairath.co.th/content/425058 จากการจัดลำดับความสำคัญปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่พบว่าโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาอันดับ ๑และโรคเบาหวานเป็นปัญหา ระดับ ๓ ของศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ จากการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี ๒๕๖๐ พบว่ากลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงกลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่จำนวน ๑๐๐ คน เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน ๔๓ คน จากปัญหาดังกล่าวศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำจึงได้จัดทำโครงการครัวสุขภาพลดเค็ม ในครัวเรือนศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ เพื่อป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงดังกล่าวกลายเป็นกลุ่มป่วยและกลุ่มป่วยสามารถบริโภคเกลือได้ถูกต้องในภายหน้าการเกิดภาวะแทรกซ้อนก็ช้าลงด้วย ส่งผลให้ลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๒.๑ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง,โรคเบาหวานที่มีภาวะโรคร่วมความดันโลหิตสูงบริโภคเกลือในครัวเรือนได้ถูกต้อง
  2. 2.๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงกลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่ลดลง
  3. เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง,โรคเบาหวานที่มีโรคร่วมความดันโลหิตสูงควบคุมโรคได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมและติดตาม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ครอบครัวกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและครอบครัวกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง,โรคเบาหวานที่มีโรคร่วมความดันโลหิตสูงสามารถเลือกบริโภคเกลือในรูปแบบต่างๆได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้กลุ่มเสี่ยงลดการเกิดโรครายใหม่กลุ่มป่วยสามารถควบคุมภาวะโรคได้มากขึ้น ภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นได้ช้าลงด้วย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมและติดตาม

วันที่ 30 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานผลส่วนที่ 3

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๒.๑ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง,โรคเบาหวานที่มีภาวะโรคร่วมความดันโลหิตสูงบริโภคเกลือในครัวเรือนได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ๑ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง,โรคเบาหวานที่มีภาวะโรคร่วมความดันโลหิตสูงบริโภคเกลือในครัวเรือนได้ถูกต้อง ร้อยละ๗๐
0.00

 

2 2.๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงกลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่ลดลง
ตัวชี้วัด : ๒ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงกลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่ไม่เกินร้อยละ ๕ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ 60
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง,โรคเบาหวานที่มีโรคร่วมความดันโลหิตสูงควบคุมโรคได้
ตัวชี้วัด : เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง,โรคเบาหวานที่มีโรคร่วมความดันโลหิตสูงควบคุมโรคได้ ร้อยละ ๕๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๒.๑  เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง,โรคเบาหวานที่มีภาวะโรคร่วมความดันโลหิตสูงบริโภคเกลือในครัวเรือนได้ถูกต้อง  (2)            2.๒  เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงกลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่ลดลง (3) เพื่อให้กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง,โรคเบาหวานที่มีโรคร่วมความดันโลหิตสูงควบคุมโรคได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมและติดตาม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ครัวสุขภาพลดเค็ม ในครัวเรือนศูนย์แพทย์ชุมชนท่ามิหรำ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-01-016

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุรภรณ์ เกตุแสง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด