กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ด้วยความใส่ใจของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลโคกม่วง ”

ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ผอ.โรงพยาบาลเขาชัยสน

ชื่อโครงการ โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ด้วยความใส่ใจของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลโคกม่วง

ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3312-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ด้วยความใส่ใจของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลโคกม่วง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ด้วยความใส่ใจของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลโคกม่วง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ด้วยความใส่ใจของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลโคกม่วง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3312-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพในปัจจุบันมีความไม่ปลอดภัยสูง เนื่องจากมีการพัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑ์และการโฆษณาในช่องทางต่างๆมากมายที่เข้าถึงผู้บริโภคได้โดยตรง ซึ่งข้อมูลที่ผู้บริโภคได้รับจะเป็นข้อมูลทางบวก ส่งผลให้ผู้บริโภคซื้อสินค้ามาบริโภคต่อไป และจะส่งผลให้ได้รับอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์นั้นๆ หากผู้บริโภคขาดความรู้ ความเข้าใจในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้อง พื้นที่เขต ทต.โคกม่วง ได้ดำเนินการเฝ้าระวังหมู่บ้านปลอดสารเสตียรอยด์ มาเป็นระยะเวลา 2 ปี แต่ยังพบว่ายังมีการบริโภคสารสเตียรอยด์ในรูปแบบยาสมุนไพร เกิดผลต่อผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรัง คือไตเรื้อรังระยะที่ 3 อีกทั้งรูปแบบการแก้ปัญหาแบบเดิมทำในรูปแบบรณรงค์ให้ความรู้และการตรวจสารสเตียรอยด์ยังไม่สามารถแก้ปัญหาดังกล่าวได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีผลิตภัณฑ์สุขภาพ(อาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ)ในชุมชนมีความปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 73
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 775
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เกิดกระบวนการการคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ที่มีความรู้และเฝ้าระวังความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์สุขภาพในพื้นที่ส่งผลให้เกิดความปลอดภัยในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้น 2.สถานที่จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น 3.ผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังมีความปลอดภัยในการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้น 4.เป็นแบบอย่างในการดำเนินการแก้ปัญหาด้านสุขภาพโดยชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมทีมงานคุ้มครองผู้บริโภค ระดับ รพสต. สสอ. รพ.เขาชัยสน สร้างแผนการเรียนการสอน

    วันที่ 15 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบในแต่ละฐานการเรียนรู้ ฐานละ 2 คน มีแผนการสอน คำถาม วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนรู้และคำถามในแต่ละฐาน

     

    17 17

    2. การลงเยี่ยมบ้านและเก็บข้อมูล

    วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงเยี่ยมครัวเรือน ครั้งที่ 1 พบปัญหาที่เกิดจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ พบ ที่ไม่สามารถระบุปัญหาได้ ร้อยละ 4.51 พบผู้ป่วยที่เกิดปัญหาจากการใช้ยา ร้อยละ 1.41 โดยลักษณะปัญหาที่เกิดคือ นำยาหลายชนิดมารวมไว้ในถุงเดียว ร้อยละ 0.51 ใส่ยาสลับซอง ร้อยละ 0.39 กินยาบ้างไม่กินบ้าง ร้อยละ 0.26 ไม่สามารถใช้ยาเองได้และหยุดยาเอง ร้อยละ 0.13 ลงเยี่ยมครัวเรือน ครั้งที่ 2 จำนวนที่ลงเยี่ยม 775 คน เป็นผู้สูงอายุ ร้อยละ 90.32 สามารถใช้ยาเองได้ ร้อยละ 87.09 ไม่สามารถใช้ยาเองได้ มีผู้ดูแล ร้อยละ 79.41 ปัญหาการใช้ยาไม่ถูกต้องพบใน ผู้ป่วยตาบอด พระภิกษุ ผส.ที่ไม่มีผู้ดูแล ปัญหาการเก็บยาไม่ถูกต้อง พบการเก็บยาน้ำเด็กทุกชนิดในตู้เย็น พบการใช้เครื่องปรุงรสในครัวเรือนเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเครื่องปรุงที่มีโซเดียมสูง มีผลต่อผู้ป่วยความดันโลหิต ร้อยละ 11.88 พบมาก คือผงชูรส ร้อยละ 3.61 รสดี ร้อยละ 2.06

     

    775 775

    3. จัดตั้งกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนและอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค

    วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค ในเขต ต.โคกม่วง 3 กลุ่ม กลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค มีความรู้ทุกฐานเฉลี่ย ร้อยละ 92.85

     

    130 129

    4. จัดประชุมประเมินผลการดำเนินงาน โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    วันที่ 16 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครั้งที่ 1 กลุ่มเป้าหมายถอดบทเรียนวิธีเก็บข้อมูล ทำให้รู้ปัญหาและนำไปแก้ไขในการลงเก็บครั้ง 2 ได้สมบูรณ์ขึ้นและได้ฝึกปฏิบัติการลงเยี่ยมบ้านจริงพร้อมพี่เลี้ยง ทำให้ผู้เรียนรู้มีความรู้เพิ่มขึ้น มีความมั่นใจในการสอบถาม กรอกแบบ มากขึ้น ครั้งที่ 2 ประชาชนมีความตื่นตัวและสามรถปฏิบัติได้ มีความรู้เพิ่มขึ้น ไม่กลับไปใช้ยา/ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เป็นอันตราย  กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้เรียนรู้การใช้ยาถูกวิธี ลดการใช้เครื่องปรุงในครัวเรือน เลือกบริโภคอาหาร เลือกกรใช้อาหารเสริมสุขภาพ และนำความรู้ที่ได้ไป แนะนำและสื่อสารกับ ปชช.อื่นในการหลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่มีอันตรายต่อสุขภาพ สิ่งที่อยากเรียนรู้เพิ่มเติม คือ การทดสอบสารสเตียรอยด์ เครืองสำอาง สารตกค้างในอาหาร สารเคมีตกค้างในร่างกาย เรียนรู้โดยการฝึกอบรมและปฏิบัติ

     

    130 130

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้มีผลิตภัณฑ์สุขภาพ(อาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ)ในชุมชนมีความปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : 1.จำนวนกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคอย่างน้อย 3 กลุ่มตามเขต รพ.สต. 2.ความรู้ของกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 3.ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชนมีความปลอดภัยไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80(ข้อมูลการสำรวจในร้านชำ การใช้ยาในครัวเรือน)

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 998
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 73
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 775
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีผลิตภัณฑ์สุขภาพ(อาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ)ในชุมชนมีความปลอดภัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย ด้วยความใส่ใจของชุมชนในเขตเทศบาลตำบลโคกม่วง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3312-01-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ผอ.โรงพยาบาลเขาชัยสน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด