กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด


“ โครงการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร ปี 2561 ”

ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสุดสวาทบุญรุ่ง อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาโหนด

ชื่อโครงการ โครงการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในสังคมปัจจุบัน สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้เข้ามามีบทบาทในด้านการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร องค์การอาหารและเกษตร แห่งสหประชาชาติ (Food and Agiculture Oganization) สำรวจพบว่า อัตราเพิ่มของอาหาร (ผลผลิตทางการเกษตร) จะเป็นปฏิภาคกับอัตราการเพิ่มการใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ที่สำคัญคือแมลงศัตรูพืช ซึ่งมีประมาณ ๑๐,๐๐๐ ชนิด ได้ก่อให้เกิดความเสียหายแก่เกษตรกร อย่างมากมายในแต่ละปี สอดรับกับ ผลงานการวิจัยการเจ็บป่วยของคนไทยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชของ นพ.ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์ ปี ๒๕๕๑ ที่จังหวัดเชียงใหม่ พบผู้บริโภคที่มีสาเคมีตกค้างระดับไม่ปลอดภัยและเสี่ยงมากถึง ๗๕ % ส่วนเกษตรกรอีก ๖๐% ไม่ได้กินแต่ได้รับสารพิษจากการฉีดพ่น
จากผลการคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร ปี ๒๕60โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน นาโหนด พบว่ามีระดับปกติร้อยละ ๑๖.๙๒ระดับปลอดภัยร้อยละ ๕๒.๓๑ ระดับเสี่ยงร้อยละ ๒๒.๓๑ ไม่ปลอดภัยร้อยละ ๘.๔๖ จากข้อมูลดังกล่าวอยู่ในเกณฑ์ที่เป็นปัญหาสุขภาพของประชาชน และส่วนใหญ่กลุ่มที่มาคัดกรองจะเป็น ผู้ฉีดพ่นเองและผู้สัมผัส ซึ่งสารเคมีเหล่านี้มีผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในระยะยาวอีกด้วย ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด ตำบลนาโหนด อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ได้จัดทำโครงการตรวจหารสาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในเลือดเกษตรกร เพื่อให้ประชาชนที่มีอาชีพเกษตรในเขตรับผิดชอบมีความรู้ในการป้องกันตนเอง และได้รับการตรวจหารสาสารเคมีตกค้างในเลือดเพื่อให้ตระหนักถึงการใช้เคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกษตรกรในเขตรับผิดชอบ มีความรู้ และเข้าใจเรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้อง ถูกวิธี
  2. เพื่อให้เกษตรกรในเขตรับผิดชอบ ได้รับการตรวจหารสาสารเคมีตกค้างในเลือด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. ตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนมีความตระหนักในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และรู้จักวิธีป้องกัน ๒. ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านนาโหนด ๓. เพื่อนำข้อมูลใช้ดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การเฝ้าระวังและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 28 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร เรื่อง สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในเลือดเกษตรกร ณ รพ.สต.บ้านนาโหนด โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1.จัดเตรียมเอกสารสำหรับลงทะเบียน รายชื่อผู้เข้ารับการอบรม เอกสารทางการเงิน เอกสารแผ่นความรู้ในการอบรม
2.ดำเนินการอบรมให้ความรู้
3.สรุปประเมินผลการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกษตรกรที่เข้าร่วมอบรม สามารถตอบคำถามของวิทยากรได้ และมีความรู้ความเข้าใจในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เกิดความตระหนักในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและรู้จักวิธีป้องกัน ร้อยละ 100

 

130 0

2. ตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกร

วันที่ 30 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการตรวจเลือดเพื่อค้นหาสารเคมีตกค้างในเลือด โดยมีขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้
1.ซักประวัติ ชั่งหน้ำหนัก วัดความดันโลหิต 2.เจาะเลือดปลายนิ้วใส่หลอดแก้ว 3.นำเลือดปั่นแยกชั้นน้ำเหลืองด้วยเครื่องปั่นเลือด (เครื่องปั่นฮีมาโตคริต) 4.น้ำน้ำเหลืองที่ป้่นแล้วมาทดสอบกับกระดาษโคลีนเอสเตอเรส 5.รออ่านผล 7 นาที 6.บันทึกผลการตรวจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้ารับการตรวจสารเคมี 130 คน ผลการตรวจพบ ปกติ 43 คน ปลอดภัย 67 คน เสี่ยง 16 คน และไม่ปลอดภัย 4 คน
ติดตามกลุ่มเสี่ยง จำนวน 16 คน และกลุ่มไม่ปลอดภัย จำนวน 4 คน โดยติดตาม 3 เดือน/ครั้ง มีการให้คำแนะนำผลกระทบจากสารกำจัดศัตรูพืช และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเกษตรกร มีการสร้างเครือข่ายในชุมชน เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน ส่งผลให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความตระหนักในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และรู้จักวิธีป้องกัน ได้รับทราบสถานการณ์สารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง และนำข้อมูลใช้ในการเฝ้าระวังและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพต่อไป

 

130 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ โดยจัดอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร หมู่บ้านที่ 1,3,6,10 ตำบลนาโหนด อ.เมือง จ.พัทลุง จำนวน 130 คน ในวันที่ 28 มีนาคม 2561 ซึ่งเกษตรกรที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช รู้จักวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รู้จักวิธีการป้องกันตนเองจากสารเคมี
2.กิจกรรมตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด โดยดำเนินการตรวจสารเคมีในเลือดของเกษตรกร หมู่บ้านที่ 1,3,6,10 ตำบลนาโหนด อ.เมือง จ.พัทลุง จำนวน 130 คน ในวันที่ 30 มีนาคม 2561 ผลการตรวจพบว่า ปกติ 43 คน ปลอดภัย 67 คน เสี่ยง 16 คน ไม่ปลอดภัย 4 คน
3. ดำเนินการติดตามกลุ่มเสี่ยง จำนวน 16 คน และกลุ่มไม่ปลอดภัย 4 คน ติดตาม 3 เดือน /ครั้ง เพื่อให้คำแนะนำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมทั้งสร้างเครือข่ายชุมชน เพื่อให้เกิดการลดหรือเลิกใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกษตรกรในเขตรับผิดชอบ มีความรู้ และเข้าใจเรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้อง ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความตระหนักในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และรู้จักวิธีป้องกัน
130.00 130.00

 

2 เพื่อให้เกษตรกรในเขตรับผิดชอบ ได้รับการตรวจหารสาสารเคมีตกค้างในเลือด
ตัวชี้วัด : ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านนาโหนด
130.00 130.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรในเขตรับผิดชอบ มีความรู้ และเข้าใจเรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้อง ถูกวิธี (2) เพื่อให้เกษตรกรในเขตรับผิดชอบ ได้รับการตรวจหารสาสารเคมีตกค้างในเลือด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) ตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกร ปี 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุดสวาทบุญรุ่ง อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาโหนด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด