โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2561 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสุดสวาทบุญรุ่ง อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาโหนด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,110.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลายได้ดำเนินการมาทุกปี โดยมีแนวคิดให้ครัวเรือน มีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย รวมทั้งให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ซึ่งจากผลการดำเนินการใน ปี ๒๕60 ปรากฏว่า มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ จึงต้องทำควบคู่กันไปทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชนและโรงเรียน จึงจะมีผลในการป้องกันได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ในปี ๒๕60 มีผู้ป่วย 21 คน คิดเป็น 258.17 ต่อแสนประชากร ซึ่งโครงการดังกล่าวทำให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการดูแลและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือนและชุมชนรพสต.บ้านนาโหนด จึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลายขึ้น เพื่อให้ประชาชนในแต่ละครัวเรือนมีแรงจูงใจในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในบ้านเรือนของตนเองและร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนควบคู่กันไปด้วย เพื่อให้ชุมชนหรือหมู่บ้านนั้นปลอดลูกน้ำยุงลาย ซึ่งจะมีผลต่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทั้งในบ้านเรือนและชุมชน
- เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย
- ลดอัตราป่วยหรือไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตพื้นที่ของ รพสต.บ้านนาโหนด ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
2,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนในเขตรับผิดชอบของ รพสต.บ้านนาโหนด เกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชน
๒. ความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านของ รพสต.บ้านนาโหนด ลดต่ำลงกว่าป้าหมายที่กำหนด
๓. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่รับผิดชอบของ รพสต.บ้านนาโหนด ลดลง
ต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
วันที่ 22 มกราคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- เดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายปีละ ๓ ครั้ง เพื่อสร้างกระแส พร้อมทั้งจ่ายทรายอะเบท
๒. สนับสนุนให้ทุกหมู่บ้านมีการสำรวจแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เพื่อหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน (HI) และโรงเรียน วัด รพสต. (CI) อย่างต่อเนื่องทุกวันศุกร์
3.การเฝ้าระวังในชุมชนในผู้ป่วยที่มีอาการสงสัย โดย อสม ที่รับผิดชอบในเขตของตนเองนั้น โดยแจ้ง
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
4..การเฝ้าระวังในสถานบริการ หากมีผู้สงสัยว่าจะเป็นไข้เลือดออกมารับบริการ ลงทะเบียนไว้ และรักษา
ตามอาการพร้อมแนะนำการสังเกตอาการและการป้องกัน และติดตามผู้ป่วยรายที่สงสัยทุกวันเพื่อดูอาการ และเพื่อดำเนินการควบคุมโรค
- พ่นหมอกควันในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก ก่อนเปิดเรียน ๒ ครั้ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย พร้อมทั้งจ่ายทรายอะเบท แผ่นความรู้เรื่องไข้เลือดออก หอกระจายข่าว/เสียงตามสายในหมู่บ้าน โดยดำเนินการ ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 22 มกราคม 2561 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 63 คน
ครั้งที่ 2 วันที่ 23 มีนาคม 2561 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 63 คน
ครั้งที่ 3 วันที่ 23 กรกฎาคม 2561 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 63 คน
๒. สนับสนุนให้ทุกหมู่บ้านมีการสำรวจแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เพื่อหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน (HI) และโรงเรียน วัด รพสต. (CI) อย่างต่อเนื่องทุกวันศุกร์ พบว่าความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน วัด โรงเรียน ลดต่ำลงกว่าเป้าหมายที่กำหนด (CI= 0),(HI<10)
3.การเฝ้าระวังในชุมชนในผู้ป่วยที่มีอาการสงสัย โดย อสม ที่รับผิดชอบในเขตของตนเองนั้น โดยแจ้ง
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข4
- พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 100.56 ต่อแสนประชากร ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ คือไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร สอบสวนการเกิดโรคในชุมชนเพื่อรวบรวมข้อมูลการเกิดโรคครบทุกราย ให้สุขศึกษาการป้องกันโรคแก่ผู้ปกครองของเด็กและบ้านใกล้เคียง แนะนำการป้องกันยุงกัน โดยการนอนกางมุ้ง พ่นละอองฝอยสารเคมีกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย บ้านผู้ป่วยและบริเวณบ้านใกล้เคียงในระยะ ๑๐๐ เมตร ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านผู้ป่วยและนอกบ้านผู้ป่วย แจกทรายกำจัดลูกน้ำตัวแก่ จ่ายโลชั่นทากันยุงและสเปรย์กำจัดยุง
5 น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับใช้ในโครงการและพ่นหมอกควัน เป็นเงิน 1,87๐ บาท ใช้เป็นส่วนผสมน้ำยาเคมีและเชื้อเพลิงในการพ่นหมอกควันในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก ก่อนเปิดเรียน ๒ ครั้ง และควบคุมโรคกรณีพบผู้ป่วย ในรัศมี 100 เมตร ห่างจากบ้านผู้ป่วย โดยพ่นละอองฝอย 2 ครั้งห่างกัน 1 อาทิตย์
6.ประชาชนในเขตรับผิดชอบของ รพสต.บ้านนาโหนด มีตระหนักและมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชน
63
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน
1. เดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายปีละ ๓ ครั้ง เพื่อสร้างกระแส พร้อมทั้งจ่ายทรายอะเบท แผ่นความรู้เรื่องไข้เลือดออก หอกระจายข่าว/เสียงตามสายในหมู่บ้าน โดยดำเนินการ ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 22 มกราคม 2561 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 63 คน
ครั้งที่ 2 วันที่ 23 มีนาคม 2561 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 63 คน และ
ครั้งที่ 3 วันที่ 23 กรกฎาคม 2561 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 63 คน
๒. สนับสนุนให้ทุกหมู่บ้านมีการสำรวจแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เพื่อหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน (HI) และโรงเรียน วัด รพสต. (CI) อย่างต่อเนื่องทุกวันศุกร์พบว่าความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน วัด โรงเรียน ลดต่ำลงกว่าเป้าหมายที่กำหนด (CI= 0),(HI
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทั้งในบ้านเรือนและชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนในเขตรับผิดชอบของ รพสต.บ้านนาโหนด เกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชน
2000.00
2,000.00
2
เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และให้ความร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
1000.00
1,000.00
3
ลดอัตราป่วยหรือไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตพื้นที่ของ รพสต.บ้านนาโหนด ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่รับผิดชอบของ รพสต.บ้านนาโหนด ลดลง
ต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด
40.00
100.56
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
2000
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
2,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทั้งในบ้านเรือนและชุมชน (2) เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย (3) ลดอัตราป่วยหรือไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตพื้นที่ของ รพสต.บ้านนาโหนด ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2561 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุดสวาทบุญรุ่ง อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาโหนด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2561 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสุดสวาทบุญรุ่ง อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาโหนด
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,110.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลายได้ดำเนินการมาทุกปี โดยมีแนวคิดให้ครัวเรือน มีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย รวมทั้งให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ซึ่งจากผลการดำเนินการใน ปี ๒๕60 ปรากฏว่า มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ จึงต้องทำควบคู่กันไปทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชนและโรงเรียน จึงจะมีผลในการป้องกันได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ในปี ๒๕60 มีผู้ป่วย 21 คน คิดเป็น 258.17 ต่อแสนประชากร ซึ่งโครงการดังกล่าวทำให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการดูแลและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือนและชุมชนรพสต.บ้านนาโหนด จึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลายขึ้น เพื่อให้ประชาชนในแต่ละครัวเรือนมีแรงจูงใจในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในบ้านเรือนของตนเองและร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนควบคู่กันไปด้วย เพื่อให้ชุมชนหรือหมู่บ้านนั้นปลอดลูกน้ำยุงลาย ซึ่งจะมีผลต่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทั้งในบ้านเรือนและชุมชน
- เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย
- ลดอัตราป่วยหรือไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตพื้นที่ของ รพสต.บ้านนาโหนด ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2,000 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนในเขตรับผิดชอบของ รพสต.บ้านนาโหนด เกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชน ๒. ความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านของ รพสต.บ้านนาโหนด ลดต่ำลงกว่าป้าหมายที่กำหนด ๓. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่รับผิดชอบของ รพสต.บ้านนาโหนด ลดลง ต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย |
||
วันที่ 22 มกราคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
63 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน
1. เดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายปีละ ๓ ครั้ง เพื่อสร้างกระแส พร้อมทั้งจ่ายทรายอะเบท แผ่นความรู้เรื่องไข้เลือดออก หอกระจายข่าว/เสียงตามสายในหมู่บ้าน โดยดำเนินการ ดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 22 มกราคม 2561 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 63 คน
ครั้งที่ 2 วันที่ 23 มีนาคม 2561 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 63 คน และ
ครั้งที่ 3 วันที่ 23 กรกฎาคม 2561 มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 63 คน
๒. สนับสนุนให้ทุกหมู่บ้านมีการสำรวจแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เพื่อหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน (HI) และโรงเรียน วัด รพสต. (CI) อย่างต่อเนื่องทุกวันศุกร์พบว่าความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน วัด โรงเรียน ลดต่ำลงกว่าเป้าหมายที่กำหนด (CI= 0),(HI
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทั้งในบ้านเรือนและชุมชน ตัวชี้วัด : ประชาชนในเขตรับผิดชอบของ รพสต.บ้านนาโหนด เกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชน |
2000.00 | 2,000.00 |
|
|
2 | เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และให้ความร่วมมือในการป้องกันโรคไข้เลือดออก |
1000.00 | 1,000.00 |
|
|
3 | ลดอัตราป่วยหรือไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตพื้นที่ของ รพสต.บ้านนาโหนด ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่รับผิดชอบของ รพสต.บ้านนาโหนด ลดลง ต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด |
40.00 | 100.56 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2000 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2,000 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทั้งในบ้านเรือนและชุมชน (2) เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย (3) ลดอัตราป่วยหรือไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในเขตพื้นที่ของ รพสต.บ้านนาโหนด ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2561 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุดสวาทบุญรุ่ง อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาโหนด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......