กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด


“ โครงการคลีนิกลดพุง (DPAC) ปี 2561 ”

ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสิริรัตน์ด้วงคง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการคลีนิกลดพุง (DPAC) ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคลีนิกลดพุง (DPAC) ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคลีนิกลดพุง (DPAC) ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคลีนิกลดพุง (DPAC) ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันคนไทยมีแนวโน้มเจ็บป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคที่เกิดจากการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆโดยมีสาเหตุมาจากการกินอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งกินผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ และประชาชนวันทำงานส่วนใหญ่จะทำงานนั่งโต๊ะ เคลื่อนไหวร่างกายน้อย ไม่ค่อยมีเวลาในการออกกำลังกาย และในการลดน้ำหนักของประชาชน ยังมีบางกลุ่มที่ยังมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการรับประทานอาหารโดยเฉพาะมื้อเช้า ซึ่งบางคนจะงดอาหารมื้อเช้า ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด การคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานในประชากร 15 ขึ้นในปี 2558-2560กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 23.60 ,33.76 และ 25.30 และกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ร้อยละ 13.46 , 16.41 และ 15.01 ตามลำดับและค่าดัชนีมวลกายเกิน ร้อยละ 41.74,64.74 และ 57.46 ตามลำดับ จึงจำเป็นต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีการออกกำลังการอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ ๓-๕ วัน วันละอย่างน้อย ๓๐ นาที ร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สด อย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไปหรือผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่น ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ ร้อยละ ๒๐-๓๐และโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและหลอดเลือดได้อย่างมาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด จึงได้จัดทำโครงการคลินิกลดพุง (DPAC) ขึ้น เพื่อให้ประชาชนทั่วไปที่สนใจดูแลสุขภาพ ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดความเสี่ยงต่อโรคที่เกิดจากโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ รวมทั้งให้เกิดความเข้าใจปัญหา อ้วน ลงพุง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ให้ประชาชนมีน้ำหนัก และรอบเอว อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ผู้หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร และ ผู้ชาย ไม่เกิน 90 เซนติเมตร
  2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มคุณภาพชีวิต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีรอบเอว และค่าดัชนีมวลกาย ไม่เกินเกณฑ์ ร้อยละ 80 2. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพดี และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคด้วยหลัก 3 อ. 2ส. โดยเลือกการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และปรับอารมณ์ให้แจ่มใสไม่เครียด ส่งผลลดการเจ็บป่วยจากโรคร้ายแรงอีกมากมายที่ตามมาจากภาวะอ้วนลงพุง
  2. ประชาชนหันมาใส่ใจสุขภาพตนเองมากขึ้นเกิดบุคคลต้นแบบลดพุงไร้โรค ขยายผลสู่เครือข่ายในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 29 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 80 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการประเมินสุขภาพด้วยตนเอง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอาหาร ด้านการออกกำลังกาย และการใช้คู่มือบันทึกการติดตามสุขภาพ โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 80 คน ซึ่งจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 80 คน ผลการติดตามสมุดบันทุึกสุขภาพ มีจำนวน 62 คน ที่สามารถควบคุมน้ำหนักให้คงที่ได้

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 80 คน ในวันที่ 29มิถุนายน 2561 ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาโหนด โดยมีหัวข้อการอบรม ประกอบด้วย
- การประเมินพฤติกรรมสุขภาพด้วยตนเอง - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอาหาร - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการออกกำลังกาย - การใช้คู่มือบันทึกการติตามสุขภาพสำหรับสมาชิก ซึ่งปรากฏว่า กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 80 คน สามารถประเมินสุขภาพด้วยตนเองได้ มีความรู้เรื่องพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนด้านอาหาร ด้านการออกกำลังกาย และใช้คู่มือในการติดตามสุขภาพสำหรับสมาชิกได้ถูกต้อง
โดยมีกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 62 คน สามารถควบคุมน้ำหนักให้คงที่ได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ให้ประชาชนมีน้ำหนัก และรอบเอว อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ผู้หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร และ ผู้ชาย ไม่เกิน 90 เซนติเมตร
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีรอบเอว และค่าดัชนีมวลกาย ไม่เกินเกณฑ์ ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

2 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มคุณภาพชีวิต
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีสุขภาพดี และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ด้วยหลัก 3 อ. 2ส. โดยเลือกการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และปรับอารมณ์ให้แจ่มใสไม่เครียด ส่งผลลดการเจ็บป่วยจากโรคร้ายแรงอีกมากมายที่ตามมาจากภาวะอ้วนลงพุง
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ให้ประชาชนมีน้ำหนัก และรอบเอว อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ผู้หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร และ ผู้ชาย ไม่เกิน 90 เซนติเมตร (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มคุณภาพชีวิต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคลีนิกลดพุง (DPAC) ปี 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสิริรัตน์ด้วงคง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด