โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2561 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสุรศักดิ์ พิศพักตร์ อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาโหนด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด
มีนาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและสนับสนุนเศรษฐกิจไทย “CLEAN FOOD GOOD TASTE” อาหารสะอาดรสชาติอร่อย โดยคณะ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านนาโหนดได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน และเป็นภารกิจที่สำคัญจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องใน ปีงบประมาณ ๒๕๖1 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยได้รับป้ายรับรองมาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร (อาหารสะอาดรสชาติอร่อย CLEAN FOOD GOOD TASTE) จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข โดยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ของร้านอาหารและแผงลอยในเขตรับผิดชอบผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ในปีนี้จึงต้องดำเนินการต่อเนื่องและคงสภาพของร้านอาหารเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการแก้ปัญหาโรคติดต่อที่เกิดจากน้ำและอาหารเป็นสื่อและผู้สัญจรที่ใช้ถนนเพชรเกษม ผ่านตำบลนาโหนดนิยมบริโภคอาหารจากสถานที่สะอาดและบรรยากาศดีและพึงพอใจรสชาติอาหารในราคาที่เหมาะสม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ
- เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจร้านอาหาร
- ตรวจร้านอาหาร
- ตรวจแบคทีเรียนในอาหาร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ลดอุบัติการณ์ของโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ
๒. ร้านอาหาร /แผงลอย ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. สำรวจร้านอาหาร
วันที่ 9 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน 1 คน พร้อมทั้ง อสม.รพ.สต.บ้านนาโหนด จำนวน
5 คน และเจ้าหน้าที่จากเทศบาลตำบลนาโหนด จำนวน 1 คน ออกสำรวจข้อมูลผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอย โรงอาหารในโรงเรียน และศพด. ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1, 3, 6, 10 ตำบลนาโหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จาการสำรวจพบว่า มีร้านอาหาร จำนวน 31 ร้าน แผงลอย จำนวน 2 ร้าน และ
โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 2 แห่ง
- มีฐานข้อมูลร้านอาหาร / แผงลอย โรงอาหารในโรงเรียน และ ศพด. ในเขตพื้นที่รับผิดชอบเพื่อนำไป
วางแผนพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค เช่น การให้ความรู้ในการประกอบอาหารที่ถูกสุขลักษณะ สะอาดปลอดภัย ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย ผู้ประกอบการได้ทราบแนวปฏิบัติในการรับการตรวจมาตรฐานร้านอาหาร/แผงลอย และโรงอาหารในโรงเรียน ศพด. ต่อไป
35
0
2. ตรวจร้านอาหาร
วันที่ 16 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อขอความร่วมมือตรวจร้านอาหาร ออกประเมินร้านอาหาร/แผงลอย โรงอาหาร โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย
- เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน 1 คน พร้อมทั้ง อสม.รพ.สต.บ้านนาโหนด
จำนวน 5 คน เจ้าหน้าที่จากเทศบาลตำบลนาโหนด จำนวน 1 คน ออกประเมินร้านอาหาร/ แผงลอย โรงอาหารโรงเรียนบ้านนาโหนด และ ศพด. โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย 12, 15 ข้อ พร้อมทั้งให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอย โรงอาหารโรงเรียนบ้านนาโหนด และ ศพด.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอย โรงอาหารโรงเรียนบ้านนาโหนด และ ศพด. จำนวน 35 คน มีความรู้ในการประกอบอาหารที่ถูกสุขลักษณะ สะอาดปลอดภัย ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย และได้ทราบแนวปฏิบัติในการรับการตรวจมาตรฐานร้านอาหาร/แผงลอย
- ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ฯ 12, 15 ข้อ จำนวน 31 ร้าน แผงลอยผ่านเกณฑ์ จำนวน 2 ร้าน และโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด ผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 2 แห่ง
- ลดอุบัติการณ์ของโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ
35
0
3. ตรวจแบคทีเรียนในอาหาร
วันที่ 23 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อขอความร่วมมือตรวจแบคทีเรียในอาหาร
- เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน 1 คน พร้อมทั้ง อสม.รพ.สต.บ้านนาโหนด
จำนวน 5 คน เจ้าหน้าที่จากเทศบาลตำบลนาโหนด จำนวน 1 คน ออกตรวจแบคทีเรียในอาหาร
(SI-๒) ในร้านอาหาร/แผงลอย โรงอาหารโรงเรียน ศพด.บ้านนาโหนด พร้อมทั้งให้ความรู้แก่
ผู้ประกอบการร้านอาหาร/แผงลอย โรงอาหารโรงเรียนบ้านนาโหนด และ ศพด.
- ตรวจแบคทีเรียในอาหารด้วยน้ำยาชุดตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI-๒) ในอุปกรณ์ 3 อย่าง คือ แก้ว จาน ช้อน อาหาร 1 ชนิด และมือของผู้ปรุงอาหาร หลังจากนั้นตั้งทิ้งไว้ในอุณหภูมิห้องและอ่านผลการตรวจภายใน 17 - 24 ชม.
- แปลผลการตรวจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ร้านอาหาร จำนวน 31 ร้าน แผงลอย จำนวน 2 ร้าน และโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด จำนวน 2 แห่ง ผ่าน CFGT ทั้งหมด 35 ร้าน ได้รับป้าย CFGT จาก สสจ.พัทลุง
- ลดอุบัติการณ์ของโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ
35
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน
ให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร และตรวจหาเชื้อแบคทีเรียในอาหาร (SI-2) ของร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารของโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด จำนวน 35 ร้าน
วันที่ 9 มีนาคม ๒๕61 สำรวจร้านอาหาร
วันที่ 16 มีนาคม ๒๕๖1 ตรวจร้านอาหาร
วันที่ ๒3 มีนาคม ๒๕๖1 ตรวจแบคทีเรียในอาหาร (SI-๒)
ผลการตรวจพบว่า ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 31 ร้าน แผงลอยผ่านเกณฑ์ จำนวน 2 ร้าน และโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย จำนวน 2 แห่ง (เกณฑ์ร้านอาหาร/แผงลอย ,เกณฑ์ 12, 15 ข้อ และ CFGT)
ผลลัพธ์ ลดอุบัติการณ์ของโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ ร้านอาหาร/แผงลอย ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ
ตัวชี้วัด : ร้านอาหาร/แผงลอย ไม่มีปัญหาเรื่องเชื้่อโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ ซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้บริโภค
55.00
35.00
2
เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ร้านอาหาร /แผงลอย ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
30.00
35.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ (2) เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจร้านอาหาร (2) ตรวจร้านอาหาร (3) ตรวจแบคทีเรียนในอาหาร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2561 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุรศักดิ์ พิศพักตร์ อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาโหนด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2561 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสุรศักดิ์ พิศพักตร์ อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาโหนด
มีนาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและสนับสนุนเศรษฐกิจไทย “CLEAN FOOD GOOD TASTE” อาหารสะอาดรสชาติอร่อย โดยคณะ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านนาโหนดได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน และเป็นภารกิจที่สำคัญจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องใน ปีงบประมาณ ๒๕๖1 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยได้รับป้ายรับรองมาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร (อาหารสะอาดรสชาติอร่อย CLEAN FOOD GOOD TASTE) จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข โดยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ของร้านอาหารและแผงลอยในเขตรับผิดชอบผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ในปีนี้จึงต้องดำเนินการต่อเนื่องและคงสภาพของร้านอาหารเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการแก้ปัญหาโรคติดต่อที่เกิดจากน้ำและอาหารเป็นสื่อและผู้สัญจรที่ใช้ถนนเพชรเกษม ผ่านตำบลนาโหนดนิยมบริโภคอาหารจากสถานที่สะอาดและบรรยากาศดีและพึงพอใจรสชาติอาหารในราคาที่เหมาะสม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ
- เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจร้านอาหาร
- ตรวจร้านอาหาร
- ตรวจแบคทีเรียนในอาหาร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ลดอุบัติการณ์ของโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ ๒. ร้านอาหาร /แผงลอย ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. สำรวจร้านอาหาร |
||
วันที่ 9 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน 1 คน พร้อมทั้ง อสม.รพ.สต.บ้านนาโหนด จำนวน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
35 | 0 |
2. ตรวจร้านอาหาร |
||
วันที่ 16 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
35 | 0 |
3. ตรวจแบคทีเรียนในอาหาร |
||
วันที่ 23 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
35 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ผลการดำเนินงาน
ให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร และตรวจหาเชื้อแบคทีเรียในอาหาร (SI-2) ของร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหารของโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด จำนวน 35 ร้าน
วันที่ 9 มีนาคม ๒๕61 สำรวจร้านอาหาร
วันที่ 16 มีนาคม ๒๕๖1 ตรวจร้านอาหาร
วันที่ ๒3 มีนาคม ๒๕๖1 ตรวจแบคทีเรียในอาหาร (SI-๒)
ผลการตรวจพบว่า ร้านอาหารผ่านเกณฑ์ฯ จำนวน 31 ร้าน แผงลอยผ่านเกณฑ์ จำนวน 2 ร้าน และโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาโหนด ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย จำนวน 2 แห่ง (เกณฑ์ร้านอาหาร/แผงลอย ,เกณฑ์ 12, 15 ข้อ และ CFGT)
ผลลัพธ์ ลดอุบัติการณ์ของโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ ร้านอาหาร/แผงลอย ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ ตัวชี้วัด : ร้านอาหาร/แผงลอย ไม่มีปัญหาเรื่องเชื้่อโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ ซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้บริโภค |
55.00 | 35.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด : ร้านอาหาร /แผงลอย ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน |
30.00 | 35.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันโรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ (2) เพื่อให้ร้านอาหาร/แผงลอยผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจร้านอาหาร (2) ตรวจร้านอาหาร (3) ตรวจแบคทีเรียนในอาหาร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอาหารปลอดภัย ปี 2561 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุรศักดิ์ พิศพักตร์ อาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านนาโหนด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......