กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ เด็กก่อนวัยเรียน เด็กวัยเรียน และผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฮาสเม๊าะ อามิง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ เด็กก่อนวัยเรียน เด็กวัยเรียน และผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ เด็กก่อนวัยเรียน เด็กวัยเรียน และผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ เด็กก่อนวัยเรียน เด็กวัยเรียน และผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ เด็กก่อนวัยเรียน เด็กวัยเรียน และผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2476-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,670.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากเป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะทำให้เด็กมีสุขภาพดี การป้องกันโรคฟันผุในเด็กควรเริ่มตั้งแต่แม่ตั้งครรภ์ เพราะฟันน้ำนมของเด็กเริ่มสร้างและมีการสะสมแร่ธาตุเกือบสมบูรณ์ขณะอยู่ในครรภ์ประกอบกับปัจจุบันมีหลักฐานที่สนับสนุนว่าการเป็นโรคปริทันต์มีผลต่อการเกิดภาวะคลอดก่อนกำหนด และเด็กน้ำหนักแรกเกิดน้อย แม่ที่มีฟันผุจะมีเชื้อจุลินทรีย์ในปากจำนวนมาก ซึ่งเชื้อนี้สามารถถ่ายทอดสู่ลูกได้ทางน้ำลายและจากข้อมูลทางระบาดวิทยาของประเทศไทยพบว่าช่วงอายุ ๐-๓ปี เป็นช่วงที่อัตราการเกิดฟันผุใน ฟันน้ำนมของเด็กเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
จากการดำเนินทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอปี๒๕60พบหญิงตั้งครรภ์มีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ87.36พบเด็กอายุ ๓ ปี มีอัตราการเกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมร้อยละ 79.18พบในเด็กอายุ 12 ปี(เด็กวัยเรียน)มีอัตราการเกิดโรคฟันผุในฟันแท้ ร้อยละ 66.54 สำหรับในกลุ่มผู้สูงอายุมีฟัน 4 คู่สบ ร้อยละ75.42 ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพฟัน เช่นไม่มีฟันใช้มีฟันปลอมใช้แต่ไม่สมบูรณ์มีฟันผุเหงือกอักเสบมีโรคประจำตัวทำให้เป็นอุปสรรคต่อการรับบริการทันตกรรมที่จำเป็น เช่น การถอนฟันการใส่รากฟันเทียมและการขูดหินปูนเกลารากฟันผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องการเคี้ยวอาหาร ขาดความรู้ เรื่องการดูแลฟัน รวมทั้งการใช้และดูแลฟันปลอมที่ถูกวิธีดังนั้นการส่งเสริมป้องกันฟันผุ สำคัญมากในทุกกลุ่มวัย เพราะถ้าช่องปากไม่สะอาด จะเอื้อต่อการตั้งรกรากของเชื้อจุลินทรีย์ ทำให้เกิดฟันผุอย่างรวดเร็วและมักจบลงด้วยการมีฟันผุทั้งปาก
การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่สำคัญในช่วงนี้ได้แก่ การควบคุมอาหารหวาน และการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์วันละ ๒ ครั้ง ควบคู่ไปกับมาตรการป้องกันโรคฟันผุอื่น ๆ เช่น การใช้สารฟลูออไรด์ชนิดทา ร่วมกับการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ และการให้ทันตสุขศึกษา การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันฟันผุในเด็กต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของครอบครัว อสม.ชุมชน รวมทั้งครอบครัว(ผู้ปกครอง)ต้องให้ความสำคัญในการสร้างเสริมพัฒนาการทุกด้านของลูกน้อยดังนั้นคลินิกฝากครรภ์ (ANC) และคลินิกสุขภาพเด็กดี (WBC) ของทุกสถานบริการสาธารณสุข เป็นสถานที่ซึ่งบุคลากรสาธารณสุขมีโอกาสพบเด็กและพ่อแม่เป็นระยะสม่ำเสมอ เหมาะสมที่จะดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ เด็ก ๐-๓ ปี และครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง การส่งเสริมป้องกันฟันผุจึงมีความสำคัญในทุกกลุ่มวัยเพราะถ้าช่องปากไม่สะอาดจะเอื้อต่อการเพาะเชื้อจุลินทรีย์ทำให้เกิดฟันผุอย่างรวดเร็วและทำให้เกิดการมีฟันผุทั้งปากดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะ จึงได้บูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอและได้ตระหนักถึงความสำคัญในการการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์เด็กก่อนวัยเรียนเด็กวัยเรียน และผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอประจำปีงบประมาณพ.ศ.2561ขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ช่องปากมารดาและเด็กก่อนวัยเรียนเด็กวัยเรียนและผู้สูงอายุในการดูแลช่องปากและฟันของเด็กให้ฟันดีห่างไกลโรคฟันผุอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ
  2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการการตรวจสุขภาพช่องปาก เพื่อดูแลตนเองและบุตร
  3. ผู้สูงอายุมีปัญหาเรื่องสุขภาพช่องปาก และการดูแลฟันปลอมที่ไม่ถูกต้อง
  4. ส่งเสริมกาารทำงานแบบมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของชุมชน เช่น อสม. แกนนำติดตามดูแลสุขภาพฟันของทุกกลุ่มเป้าหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ออกตรวจสุขภาพช่องปากและฟันในโรงเรียนในพื้นที่ 2.ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ 3. ออกครวจสุขภาพช่องปากและฟัน ในรายผู้สูงอายุที่ติดเตียง ติดบ้าน ในพื้นที่ตำบลดุซงญอ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 123
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 133
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 269
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและเช็ดทำความสะอาดช่องปากบุตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. หญิงมีครรภ์ได้รับบริการทันตกรรมบำบัดตามความจำเป็น มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
  3. เด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี) ได้รับการตรวจฟัน ทาฟลูออไรด์วานิชได้อย่างครอบคลุม
  4. เด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี) มีฟันผุลดลง และเด็กได้รับการแปรงฟันที่ถูกต้องจากผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และครูอนุบาล
  5. ครูผู้ดูแลเด็ก (ศพด.) และครูอนุบาลสามารถตรวจฟันเด็กและสอนเด็กแปรงฟันได้อย่างถูกต้อง
  6. ผู้สูงอายุในชมรมและแกนนำศาสนาสามารถดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองมีความรู้และเจตคติต่อการดูแลฟันที่ดีขึ้น
  7. มีการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน มี อสม. แกนนำ ติดตามดูแลสุขภาพฟันเด็กปฐมวัยเด็กร่วมกับเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข
  8. ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้เข้าถึงบริการทันตกรรมอย่างทั่วถึง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. ออกตรวจสุขภาพช่องปากและฟันในโรงเรียนในพื้นที่ 2.ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ 3. ออกครวจสุขภาพช่องปากและฟัน ในรายผู้สูงอายุที่ติดเตียง ติดบ้าน ในพื้นที่ตำบลดุซงญอ

วันที่ 31 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 1. ตรวจสุขภาพช่องปากหญิงมีครรภ์รายใหม่ ฝึกทักษะการแปรงฟันโดยการย้อมสีฟัน 2. ให้บริการทันตกรรมบำบัด เช่น ถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูนในรายที่จำเป็น และแจกชุดของขวัญในกรณี Complete case 3. เยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์หลังคลอดพร้อมสอนการเช็ดปากลูก กลุ่มเด็กอายุ 0-3 ปี 1. ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก 0-. ปี ฝึกทักษะการแปรงฟันให้ลูกแบบมือต่อมือแก่เด็กผู้ปกครอง 2. ทาฟลูออไรด์วานิช 3. แจกชุดของขวัญแก่เด็ก 3 ปี ที่มี caries free และทาฟลูออไรด์ครบ 5 ครั้ง (สื่อเกี่ยวกับการดูแลและรักษาฟันไม่ให้ผุ) 4. สร้างกระแสการแปรงฟันลงสู่ชุมชน โดยการประกวดกลเม็ดเด็ด พิชิตลูกแปรงฟัน กลุ่มเด็กอายุ 3-5 ปี 1. ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก 3-5 ปี ทาฟลูออไรด์วานิช ปีละ 2 ครั้ง (ศพด. และโรงเรียนอนุบาล) 2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่ครูผู้ดูแลเด็ก (ศพด.) และครูอนุบาล (โรงเรียนอนุบาล) 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง ศพด. และโรงเรียนอนุบาล กลุ่มเด็กวัยเรียน 1. ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กชั้น ป.1 6 ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี 2. สุ่มตรวจประสิทธิภาพการแปรงฟัน เทรมละ 1 ครั้ง แกนนำ และอสม. 1. ประสานงาน อสม. เพื่อหาแกนนำ 2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำ และอสม. เชิงลึกสามารถปฏิบัติจริง 3. รวบรวมรายงาน สรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มผู้สูงอายุ 1. ตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ฝึกทักษะการแปรงฟันแท้ที่ถูกวิธี 2. ให้ความรู้เรื่องทันตสุขขภาพ วิธีดูแลฟันปลอม และใช้ฟันปลอมได้อย่างถูกต้อง 3. ให้บริการทันตกรรมที่จำเป็นอย่างง่ายได้ เช่น ขูดหินปูน ทาฟลูออไรด์วานิช 4. สร้างความตระหนักและมีเจตคติที่ดีต่อการดูแลทันตสุขภาพของตนเอง โดยการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและเช็ดทำความสะอาดช่องปากบุตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรมบำบัดความจำเป็น มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
  3. เด็กปฐมวัย (0-5 ปี) ได้รับการตรวจฟัน ทาฟลูออไรด์วานิชได้อย่างครอบคลุม
  4. เด็กปฐมวัย (0-5 ปี) มีฟันผุลดลง และเด็กได้รับการแปรงฟันที่ถูกต้องจากผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็กและครูอนุบาล
  5. ครูผู้ดูแลเด็ก (ศพด.) และครูอนุบาลสามารถตรวจฟันเด็กและสอนเด็กแปรงฟันได้อย่างถูกต้อง
  6. ผู้สูงอายุในชมรมและแกนนำศาสนาสามารถดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเองมีความรู้และเจตคติต่อการดูแลฟันที่ดีขึ้น
  7. มีการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน มี อสม. แกนนำ ติดตามดูแลสุขภาพฟันเด็กปฐมวัยร่วมกับเจ้าหนน้าที่ทันตสาธารณาุข
  8. ประชาชนทุกลุ่มวัยได้เข้าถึงบริการทันตกรรมอย่างทั่วถึง

 

575 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก(0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ (คน)
123.00 123.00

 

2 หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการการตรวจสุขภาพช่องปาก เพื่อดูแลตนเองและบุตร
ตัวชี้วัด : ลดปัญหาสุขภาพช่องปากในหญิงตั้งครรภ์ และได้รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากอย่างทั่วถึง
269.00

 

3 ผู้สูงอายุมีปัญหาเรื่องสุขภาพช่องปาก และการดูแลฟันปลอมที่ไม่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุรู้จักวิธีดูแลฟันปลอมอย่างถูกวิธีและพร้อมใช้งานได้ มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
133.00

 

4 ส่งเสริมกาารทำงานแบบมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของชุมชน เช่น อสม. แกนนำติดตามดูแลสุขภาพฟันของทุกกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : มีการทำงานแบบมีส่วนร่วมของเเกนนำ เครือข่าย ติดตามดูแลแก้ปัญหาเบื้องต้นในการดูแลสุขภาพช่องปาก และฟัน
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 525
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 123
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 133
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 269
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ (2) หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการการตรวจสุขภาพช่องปาก เพื่อดูแลตนเองและบุตร (3) ผู้สูงอายุมีปัญหาเรื่องสุขภาพช่องปาก  และการดูแลฟันปลอมที่ไม่ถูกต้อง (4) ส่งเสริมกาารทำงานแบบมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของชุมชน เช่น อสม. แกนนำติดตามดูแลสุขภาพฟันของทุกกลุ่มเป้าหมาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ออกตรวจสุขภาพช่องปากและฟันในโรงเรียนในพื้นที่  2.ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ 3. ออกครวจสุขภาพช่องปากและฟัน ในรายผู้สูงอายุที่ติดเตียง ติดบ้าน ในพื้นที่ตำบลดุซงญอ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ เด็กก่อนวัยเรียน เด็กวัยเรียน และผู้สูงอายุ ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮาสเม๊าะ อามิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด