กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในหญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการฝากครรภ์ การดูแลขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด ตำบลดุซงญอ ”
ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางฮาสเม๊าะ อามิง




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในหญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการฝากครรภ์ การดูแลขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด ตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-l2476-2-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 28 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในหญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการฝากครรภ์ การดูแลขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในหญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการฝากครรภ์ การดูแลขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด ตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในหญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการฝากครรภ์ การดูแลขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-l2476-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัวการตั้งครรภ์ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งในด้านกายวิภาคชีวเคมีและสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัวอย่างมากมายกับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่าง ๆ ของร่างกายที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น สภาพแวดล้อมเพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอดนอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์ สัมพันธภาพกับครอบครัว และที่สำคัญครอบครัวต้องมีส่วนร่วมในการปรับตัวและการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในขณะตั้งครรภ์ เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย โดยมีกลวิธีที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ได้แก่ การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับการดูแลขณะตั้งครรภ์ ขณะเจ็บครรภ์คลอด และหลังคลอด การฝากครรภ์ การบริโภค การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การออกกำลังกาย และ การพักผ่อนเพื่อผ่อนคลายจากการดำเนินงานที่ผ่านมา ได้ปรับกลยุทธ์การดำเนินงานให้เหมาะสมกับพื้นที่และเร่งรัดการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก โดยเฉพาะอัตราการฝากครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์ปี ๒๕๕7 – ๒๕60คลอบคลุมร้อยละ80, 89.80 และ 94.34 ตามลำดับ ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๗๕)ปีงบประมาณ๒๕60 การฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพร้อยละ 87 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๕ การคลอดในสถานบริการคลอบคลุมร้อยละ ๑๐๐เป้าหมายร้อยละ ๙๕ภาวะซีดหน้าห้องคลอด ร้อยละ 6 เป้าหมายไม่เกินร้อยละ ๑๐จากผลการดำเนินงานจะเห็นได้ว่าตัวชี้วัดเพิ่มขึ้นตามลำดับดังนั้นจึงจำเป็นต้องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะจึงได้บูรณาการร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอได้กำหนดกลยุทธ์ในการแก้ไขและพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กกระตุ้นการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและได้รับความร่วมมือจากการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานจึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
  2. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  4. เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายในชุมชน (ผู้นำศาสนา ผดุงครรภ์โบราณ แกนนำสตรี แม่อาสาและผู้นำชุมชน เกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการ) 2. จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงหญิงตั้งครรภ์และ สามี หรือญาติ โดยใช้หลักสูตรโรงเรียน พ่อแม่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 250
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์และสามี มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์ได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และเกิดความรักผูกพันในครอบครัวมากขึ้น
  2. หญิงหลังคลอดได้รับบริการเยี่ยมหลังคลอดและได้รับความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
  3. หญิงตั้งครรภ์และทารกมีความปลอดภัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายในชุมชน (ผู้นำศาสนา ผดุงครรภ์โบราณ แกนนำสตรี แม่อาสาและผู้นำชุมชน เกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการ) 2. จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงหญิงตั้งครรภ์และ สามี หรือญาติ โดยใช้หลักสูตรโรงเรียน พ่อแม่

วันที่ 31 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขและถาคีเครือข่ายในชุมชน (ผู้นำศาสนา ผดุงครรภ์ โบราณ แกนนำสตรี แม่อาสาและผู้นำชุมชน เกี่ยวกับการดำเนินงานโครงงาน)
  2. จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี หรือญาติ โดยใช้หลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่
  3. จัดประชุมให้ความรู้คู่สมรมใหม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. หญิงตั้งครรภ์และสามี มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์ได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และเกิดความรักผูกพันในครอบครัวมากขึ้น
  2. หญิงหลังคลอดได้รับบริการเยี่ยมหลังคลอดและได้รับความรู้ความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
  3. หญิงตั้งครรภ์และทารกมีความปลอดภัย

 

560 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงฝากครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง(คน)
250.00 250.00

 

2 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงคลอดได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอด(คน)
250.00 250.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์(คน)
30.00 30.00

 

4 เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
ตัวชี้วัด : จำนวนแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน(คน)
250.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 250
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง (2) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (4) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายในชุมชน (ผู้นำศาสนา  ผดุงครรภ์โบราณ  แกนนำสตรี  แม่อาสาและผู้นำชุมชน  เกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการ) 2. จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงหญิงตั้งครรภ์และ สามี หรือญาติ โดยใช้หลักสูตรโรงเรียน  พ่อแม่           

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในหญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการฝากครรภ์ การดูแลขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-l2476-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮาสเม๊าะ อามิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด