กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลดุซงญอ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฮาสเม๊าะ อามิง

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2476-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 69,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันอัตราการเพิ่มขึ้นของผู้หญิงที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกกำลังพุ่งสูงขึ้นอย่างน่าตกใจ ข้อมูลจากองค์กรอนามัยโลก ระบุว่า มะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆของผู้หญิงทั่วโลก มีการประมาณกันไว้ว่า ในทุกๆปี จะพบผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ มากกว่า 500,000 ราย และครึ่งหนึ่งในจำนวนนั้น จะเสียชีวิตลง ซึ่งนับได้ว่าทุกๆ 1 ชั่วโมง จะมีผู้หญิงทั่วโลกเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกถึง 30 คน ซึ่งเป็นตัวเลขที่ใกล้เคียงจากอุบัติเหตุเลยทีเดียว มะเร็งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกองค์การอนามัยโลกได้ประมาณอัตราการเพิ่มขึ้นของโรคมะเร็งในอนาคตอีก20 ปีข้างหน้า จะเพิ่มเป็น 2 เท่าของปัจจุบัน รายงานสถิติสาธารณสุข ของศูนย์ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขอัตราตายด้วยมะเร็งทุกชนิดสูงขึ้นตลอด โดยมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่เป็นอันตรายอันดับ ๑ มะเร็งเต้านมเป็นอันดับ 2 ในผู้หญิง ปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เพราะทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรบุคคลและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกต้องมีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลามและจากการศึกษาขององค์การอนามัยโลกได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำpap smearในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30 – 60 ปีทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมากและเป็นสาเหตุการตายเป็นอันดับหนึ่งในประเทศไทย จากการรายงานของสำนักงานวิจัยมะเร็งนานาชาติในปี 2553 พบว่า ประเทศไทยมีจำนวนผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกปีละเท่ากับ 24.5 ต่อประชากรสตรี 100,000 คนต่อปี ในแต่ละปีจะพบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ประมาณ 10,000 รายและมีผู้ป่วยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกประมาณ 5,200 ราย หรือประมาณร้อยละ 27 และมีสตรีไทยเสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกเฉลี่ยวันละ 14 คน สตรีไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเป็นอันดับ 2 ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โรคมะเร็งปากมดลูกสามารถป้องกันและควบคุมได้โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกในระยะก่อนเป็นมะเร็ง สามารถดูแลรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบในระยะแรกของการป่วยและถ้าประชาชนสตรีรู้จักวิธีการป้องกันโดยตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Pap Smear) เพื่อหาเซลล์ผิดปกติผู้หญิงทุกคนที่เคยผ่านการมีเพศสัมพันธ์มาแล้วมีโอกาสที่จะเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ทั้งสิ้นแม้จะเป็นเพศสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวก็ตาม จากสถิติ รายงานว่า 30% ของผู้หญิงไทย ไม่เคยได้เข้ารับการตรวจแปปสเมียร์เพื่อคัดกรองหาเชื้อมะเร็งปากมดลูกเลย
จากการสรุปผลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรีอายุ 30 – 60 ปีปีงบประมาณ 2560 ของตำบลดุซงญอพบว่าสตรีกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวได้รับการตรวจคัดกรองเพียงร้อยละ 12.21 ซึ่งจะเห็นว่าจะมีประชาชนมาคัดกรองไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์จังหวัดนราธิวาสซึ่งกลุ่มประชากรกลุ่มเป้าหมายของจังหวัดนราธิวาสจะต้องได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 20 เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกจะต้องมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและได้รับการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้มาคัดกรองมะเร็งปากมดลูกดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาตำบลดุซงญอโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะบูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ จึงจัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561ให้แก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในตำบลดุซงญอ ขึ้นเพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว อันจะช่วยทำให้พบผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกได้ตั้งแต่ระยะแรกได้มากขึ้นซึ่งจะส่งผลให้ลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งได้อีกทางหนึ่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรก โดยกลุ่มเป้าหมายต้องได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากกว่าร้อยละ 20
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจหาความผิดปกติของเซลล์มะเร็งปากมดลูกได้รับการตรวจวินิจฉัยยืนยันการเกิดโรค
  3. เพื่อให้สตรีที่เป็นโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรกเริ่มมีโอกาสรักษาให้หายขาด และเพื่อลดการสูญเสียค่าใช้จ่ายและเวลาในการรักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้แก่แกนนำอสม., แกนนำสตรีและกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ 2. ออกตรวจมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกในแต่ละหมู่บ้าน ตามตารางการปฏิบัติงาน และลง Program Pap Registry 3. ลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 500
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 – 60 ปีในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงอันตรายของ โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 – 60 ปีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและพบภาวะผิดปกติทุกชนิดได้รับการส่งต่อและรักษาทุกราย(ร้อยละ 100) 3.อสม. มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับให้กลุ่มเป้าหมายและสามารถนำกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกได้อย่างครอบคลุม 4. ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก สามารถเข้าถึงการรักษาได้อย่างรวดเร็วและลดอัตราการตายได้ 5. ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการดูแล บำบัดรักษา ฟื้นฟู และติดตามอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ 6. ลดอัตราการตายโดยสาเหตุจากโรคมะเร็งปากมดลูก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้แก่แกนนำอสม., แกนนำสตรีและกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ 2. ออกตรวจมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกในแต่ละหมู่บ้าน ตามตารางการปฏิบัติงาน และลง Program Pap Registry 3. ลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 10 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค้นหากลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ
  2. ประสานงานกับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
  3. จัดทำโครงการ เพื่อขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดุซงญอ
  4. มอบหมายให้ อสม.ประชาสัมพันธ์ให้แก่กลุ่มเป้าหมายในหมู่บ้านที่ตนเองรับผิดชอบ
  5. จัดเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือการตรวจมะเร็งปากมดลูก
  6. ดำเนินการตามแผนงานกิจกรรมตามโครงการ
  7. อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้แก่แกนนำอสม.,แกนนำสตรีและกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ
  8. ออกตรวจมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกในแต่ละหมู่บ้าน ตามตารางการปฏิบัติงาน และลง Program Pap Registry
  9. ลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายแต่ละหมู่บ้านตามแผนงานที่กำหนด
  10. มอบของที่ระลึกกับกลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการคัดกรอง
  11. สรุปผลการดำเนินงานตามโ๕รงการ ฯ 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำสตรีชักชวนกลุ่มเป้าหมาย เข้ารับการตรวจรักษาโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมอย่างต่อเนื่อง
  2. แกนนำสรตีมีความรู้ในเรื่องการตรวจมะเร็งปากมดลูกกับหลักคำสอนศาสนามากขึ้น ในการอบรมให้ความรู้ดังกล่าว
  3. ค้นหา และติดตามกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ ตามแผนที่กำหนดอย่างต่อเนื่อง
  4. ออกตรวจมะเร็งปากมดลูกตามตารางการปฏิบัติงาน และลง Program Pap Registry
  5. มอบของที่ระลึกกับกลุ่มเป้าหมายที่มารับบริการคัดกรองเพื่อสร้างแรงจูงใจในการเข้าถึงรับบริการการตรวจมะเร็ง ฯ อย่างต่อเนื่อง
  6. ออกประเมินผลและรายงานผลกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง

 

500 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรก โดยกลุ่มเป้าหมายต้องได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากกว่าร้อยละ 20
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากกว่าร้อยละ 20
500.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจหาความผิดปกติของเซลล์มะเร็งปากมดลูกได้รับการตรวจวินิจฉัยยืนยันการเกิดโรค
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติของเซลล์มะเร็ง ได้รับการส่งต่อการรักษาได้ทันท่วงที
500.00

 

3 เพื่อให้สตรีที่เป็นโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรกเริ่มมีโอกาสรักษาให้หายขาด และเพื่อลดการสูญเสียค่าใช้จ่ายและเวลาในการรักษา
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการรักษาได้ทันท่วงที ลดการสูญเสียค่าใช้จ่ายและเวลาในการรักษา
500.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 500
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรก โดยกลุ่มเป้าหมายต้องได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากกว่าร้อยละ 20 (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจหาความผิดปกติของเซลล์มะเร็งปากมดลูกได้รับการตรวจวินิจฉัยยืนยันการเกิดโรค (3) เพื่อให้สตรีที่เป็นโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะแรกเริ่มมีโอกาสรักษาให้หายขาด และเพื่อลดการสูญเสียค่าใช้จ่ายและเวลาในการรักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้แก่แกนนำอสม., แกนนำสตรีและกลุ่มเป้าหมายในเขตรับผิดชอบ 2. ออกตรวจมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกในแต่ละหมู่บ้าน ตามตารางการปฏิบัติงาน และลง Program  Pap Registry  3. ลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮาสเม๊าะ อามิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด