กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ที่ดีต่อการบริโภค และตระหนักในเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียน อย.น้อย มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว ร้อยละ 80
488.00

 

 

 

2 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนในเรื่องการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ทั้งในโรงเรียนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
488.00

 

 

 

3 เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ให้ความรู้ด้านการบริโภคสู่เพื่อนนักเรียน บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองของนักเรียน และบุคคลอื่น ๆ ในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียน อย.น้อย มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัวร้อยละ 80
488.00

 

 

 

4 เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อย ได้มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว
ตัวชี้วัด : นักเรียน อย.น้อย มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว ร้อยละ 80
488.00

 

 

 

5 เพื่อให้นักเรียนนำกิจกรรม อย.น้อยไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ทั้งในโรงเรียนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
488.00

 

 

 

6 เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ทั้งในโรงเรียนและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
488.00