กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ
รหัสโครงการ 61-L2476-225
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้นำศาสนาตำบลดุซงญอ
วันที่อนุมัติ 18 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 24 กรกฎาคม 2561 - 24 กรกฎาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 24 สิงหาคม 2561
งบประมาณ 12,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมาหะมะ เจ๊ะแต
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.123,101.643place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ , แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 120 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละ ของการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน
120.00
2 กำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน(คน)
100.00
3 จำนวนผู้ติดยาเสพติดที่เสพยาอย่างต่อเนื่องจนมีความบกพร่องต่อหน้าที่ในชุมชน(คน)
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

มัสยิดเป็นองค์กรที่สำคัญยิ่งในศาสนาอิสลาม เป็นองค์กรที่มีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาคนให้เป็นคนดีและพัฒนามุสลิมให้เป็นมุสลิมที่สมบูรณ์ มัสยิดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้กลายเป็นสัญลักษณ์ที่โดดเด่นของชุมชนมุสลิมและเป็นสัญลักษณ์ที่สามารถบ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรือง และความเสื่อมถอยของชุมชนนั้น ๆ ได้อย่างดี เมื่อหันมาดูบทบาทของมัสยิดในปัจจุบัน พบว่ามีปัจจัยเกื้อหนุนหลายประการที่สามารถทำให้มัสยิดเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืนได้เมื่อหันมาดูบทบาทของมัสยิดในปัจจุบัน พบว่ามีปัจจัยเกื้อหนุนหลายประการที่สามารถทำให้มัสยิดเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืนได้
นอกจากนี้มัสยิดยังเป็นศูนย์กลางในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคประชาชนในพื้นที่ โดยใช้ศาสนานำการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของประชาชนเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งมัสยิดเป็นศูนย์รวมด้านวิถีชีวิตของมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ดังนั้น ชมรมผู้นำศาสนาจึงได้บูรณาการร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ, แกนนำชุมชน, อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และผู้นำศาสนา ได้วิเคราะห์ปัญหาและจัดทำโครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพ ตำบลดุซงญอ ขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาของชุมชนโดยประชาชน แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนา และ อสม. มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสุขภาพต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ในชุมชน

อัตราการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชนลดลงเหลือ(ร้อยละ)

120.00
2 เพื่อพัฒนาให้มัสยิดในเขตตำบลดุซงญอเป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ

มัสยิดในเขตตำบลดุซงญอได้รับการพัฒนาให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพของชุมชน

120.00
3 เพื่อส่งเสริมให้มีเครือข่ายในการดูแลสุขภาพ

มัสยิดมีเครือข่ายในการส่งเสริมและดูแลสุขภาพของชุมชนมากขึ้น

120.00
4 เพื่อให้ผู้นำศาสนาสามารถดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน

ผู้นำศาสนา มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนมากขึ้น

120.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 12,100.00 1 12,100.00
24 ก.ค. 61 1. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่สาธารณสุข, อสม, คณะกรรมการมัสยิด และแกนนำชุมชน เกี่ยวกับการดำเนินงานตามโครงการ 2. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขออนุเคราะห์เจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินงานและเพื่อเป็นวิทยากรฝึกอบรมให้ความรู้ 3.ดำเนินการตามโครงการ 0 12,100.00 12,100.00
  1. เขียนโครงการเสนอต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลดุซงญอ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ
  2. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่สาธารณสุข, อสม, คณะกรรมการมัสยิด และแกนนำชุมชน เกี่ยวกับการดำเนินงานตามโครงการ
  3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขออนุเคราะห์เจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินงานและเพื่อเป็นวิทยากรฝึกอบรมให้ความรู้
  4. ประสานจัดหาสถานที่ดำเนินการตามโครงการ
  5. ดำเนินการตามโครงการ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุขภาพให้แก่ผู้นำศาสนา, อสม, คณะกรรมการมัสยิด และแกนนำชุมชน
  6. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.ในพื้นที่ลงพื้นที่ติดตามประเมินผลมัสยิดส่งเสริมสุขภาพ
  7. สรุปผลการประเมินมัสยิดส่งเสริมสุขภาพ โดยทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.ในพื้นที่
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้นำศาสนา มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนมากขึ้น
  2. มัสยิดในเขตตำบลดุซงญอได้รับการพัฒนาให้เป็นศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพของชุมชน
  3. มัสยิดมีเครือข่ายในการส่งเสริมและดูแลสุขภาพของชุมชนมากขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2561 21:58 น.