กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย ”

ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียาสุขสง่า

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 6 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนในศูนย์เด็กเล็กและเด็กเล็กได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกได้โดย วิถี SELF CARE (3) ข้อที่ 3 นักเรียนในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังและโรงเรียนบ้านวังประจัน แปรงฟันได้อย่างมีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 กิจกรรมที่ ๑ (ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังประจัน) (รายละเอียดแนบท้ายโครงการ) (2) 2. กิจกรรมที่ ๒ (ผู้ปกครองในชุมชน) (รายละเอียดแนบท้ายโครงการ) (3) 3. กิจกรรมที่ 3 (นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังและโรงเรียนบ้านวังประจัน) (รายละเอียดแนบท้ายโครงการ)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในเด็กเล็ก โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ ๑-๓ ปี สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กได้ การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าในการแสดงออก หรือต้องมีการรักษาที่ยุ่งยากตามมาในอนาคตในปัจจุบัน การดูแลสุขภาพช่องปาก จะเน้นการให้ความร่วมมือกันระหว่างเครือข่ายสหวิชาชีพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกระแสสังคม และสร้างนวัตกรรมให้ผู้ปกครองดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กปฐมวัย 0-5 ปี ร่วมกับให้มีพื้นที่ต้นแบบรำร่องในเรื่องดังกล่าว ภายใต้เด็กเล็กฟันดี โดยวิธี SELF CARE จากเหตุผลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน ซึ่งมีหน้าที่ในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคในช่องปากของกลุ่มเป้าหมายให้ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึงให้เกิดประสิทธิภาพที่ยั่งยืนเพื่อให้ สอดคล้องกับสภาพปัญหาในพื้นที่การสร้างเสริมทันตสุขภาพในระดับชุมชนเป็นมาตรการที่สามารถพัฒนาสุขภาพช่องปากของประชาชนที่ยั่งยืนที่สุดแต่ต้องอาศัยระยะเวลาและกระบวนการในการผลักดันและขับเคลื่อนสร้างให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมด้านทันตสุขภาพ อันจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพช่องปากของคนในชุมชนและสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่ดีอย่างยั่งยืน จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนในศูนย์เด็กเล็กและเด็กเล็กได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกได้โดย วิถี SELF CARE
  3. ข้อที่ 3 นักเรียนในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังและโรงเรียนบ้านวังประจัน แปรงฟันได้อย่างมีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 กิจกรรมที่ ๑ (ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังประจัน) (รายละเอียดแนบท้ายโครงการ)
  2. 2. กิจกรรมที่ ๒ (ผู้ปกครองในชุมชน) (รายละเอียดแนบท้ายโครงการ)
  3. 3. กิจกรรมที่ 3 (นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังและโรงเรียนบ้านวังประจัน) (รายละเอียดแนบท้ายโครงการ)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กนักเรียนในศูนย์เด็กเล็กบ้านวังประจันและเด็กเล็กในชุมชนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 100 ๒. ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100 3. นักเรียนในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังและโรงเรียนบ้านวังประจัน แปรงฟันได้อย่างมีคุณภาพ คิดเป็นค่า Plaque Index
ไม่เกินร้อย ละ 3.0


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1 กิจกรรมที่ ๑ (ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังประจัน) (รายละเอียดแนบท้ายโครงการ)

วันที่ 18 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1 กิจกรรมที่ ๑ (ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังประจัน) จำนวน  80  คน โดย
- กิจกรรมทาฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุให้นักเรียนทุกคนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- จัดกิจกรรมเสวนากลุ่มในการดูแลสุขภาพช่องปากให้กับผู้ปกครอง  อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน  รอยโรคต่างๆ  การป้องกันและรักษารอยโรค
- การเสวนากลุ่มโดยการให้ผู้ปกครองทุกคนแปรงฟันให้กับบุตรหลานของตนเอง  ที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ  สามารถที่จะดูแลตนเองและบุคคลในครอบครัวได้ต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียนในศูนย์เด็กเล็กบ้านวังประจันและเด็กเล็กในชุมชนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 100

 

80 0

2. 3. กิจกรรมที่ 3 (นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังและโรงเรียนบ้านวังประจัน) (รายละเอียดแนบท้ายโครงการ)

วันที่ 2 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมที่ 3 (นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังและโรงเรียนบ้านวังประจัน) จำนวน 100 คน

- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคฟันผุ วิธีป้องกันฟันผุ เพื่อป้องกันการลุกลามของโรค - ให้สุขศึกษาเรื่องการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพฟัน - กิจกรรมย้อมสีฟันก่อนสอนทักษะการแปรงฟัน เพื่อประเมินทักษะการแปรงฟัน บันทึกค่า PI
- สอนทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้อง
- ย้อมแผ่นคราบจุลินทรีย์ เพื่อประเมินประสิทธิภาพการแปรงฟัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คิดจากการแปรงฟันคุณภาพ เป็นค่า Plaque Index
ไม่เกินร้อย ละ 3.0 ของนักเรียนทั้ง 2 โรงเรียน

 

100 0

3. 2. กิจกรรมที่ ๒ (ผู้ปกครองในชุมชน) (รายละเอียดแนบท้ายโครงการ)

วันที่ 6 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมที่ ๒ (ผู้ปกครองในชุมชน) จำนวน  70  คน โดย จัดกิจกรรม 4 วัน

- กิจกรรมเสวนากลุ่มขนาดเล็กๆ ในการดูแลสุขภาพช่องปากให้กับผู้ปกครอง  อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพฟัน  รอยโรคต่างๆ  การป้องกันและรักษารอยโรค
- ผู้ปกครองทุกคนฝึกทักษะการแปรงฟันให้กับบุตรหลานของตนเอง  ที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ  สามารถที่จะดูแลตนเองและบุคคลในครอบครัวได้ต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100 

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • เด็กให้ความสนใจในการให้ความรู้ ฟันติดสีย้อม มีข้อมูลในแบบฟอร์มการบันทึกค่า PI และแปรงฟันได้ถูกต้องอย่างมีประสิทธิ
  • ทักษะการแปรงฟันทั้ง 2 โรงเรียน มีระดับการย้อมคราบจุลินทรีย์ลดลงอย่างเห็นได้ชัดจากค่าการย้อมคราบจุลินทรีย์ และรณรงค์การแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทั้งสองโรงเรียน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนในศูนย์เด็กเล็กและเด็กเล็กได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนในศูนย์เด็กเล็กบ้านวังประจันและเด็กเล็กในชุมชนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 100
100.00 100.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกได้โดย วิถี SELF CARE
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100
100.00 100.00

 

3 ข้อที่ 3 นักเรียนในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังและโรงเรียนบ้านวังประจัน แปรงฟันได้อย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : คิดจากการแปรงฟันคุณภาพ เป็นค่า Plaque Index ไม่เกินร้อย ละ 3.0 ของนักเรียนทั้ง 2 โรงเรียน
3.00 3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้นักเรียนในศูนย์เด็กเล็กและเด็กเล็กได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกได้โดย วิถี SELF CARE (3) ข้อที่ 3 นักเรียนในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังและโรงเรียนบ้านวังประจัน แปรงฟันได้อย่างมีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 กิจกรรมที่ ๑ (ผู้ปกครองศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังประจัน) (รายละเอียดแนบท้ายโครงการ) (2) 2. กิจกรรมที่ ๒ (ผู้ปกครองในชุมชน) (รายละเอียดแนบท้ายโครงการ) (3) 3. กิจกรรมที่ 3 (นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังและโรงเรียนบ้านวังประจัน) (รายละเอียดแนบท้ายโครงการ)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัย จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมารียาสุขสง่า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด