โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ”
ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางฮามีดะหลังยาหน่าย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย
ที่อยู่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญ คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัยโดยมีกลวิธีที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ได้แก่การให้บริการตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ขณะเจ็บครรภ์คลอดและหลังคลอดการประเมินภาวะเสี่ยงของมารดาขณะตั้งครรภ์และดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมจะสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาทั้งที่จะเกิดแก่มารดาและทารกได้การฝากครรภ์เร็วฝากครรภ์ตามเกณฑ์ ทำให้สามารถคัดกรองภาวะเสี่ยงและแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องตามระบบหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงจะเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ซึ่งจะมีผลกระทบถึงพัฒนาการเด็กและสติปัญญาในการเรียนรู้ต่ำ ซึ่งปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของมารดาและทารก
จากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของอำเภอควนโดน ปี 2559 – 2560 พบว่าอัตราฝากครรภ์5ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ56.85 , 45.59 และ 59.64ตามลำดับซึ่งต่ำกว่าตัวชี้วัด (มากกว่าร้อยละ60)อัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางร้อยละ19.92 , 18.89และ11.62ตามลำดับซึ่งสูงกว่าตัวชี้วัด (ไม่เกินร้อยละ 10)อัตราทารกคลอดน้ำหนักต่ำกว่า2500 กรัมร้อยละ9.90 , 7.32 และ 12.90ตามลำดับซึ่งสูงกว่าตัวชี้วัด (ไม่เกินร้อยละ7)นอกจากนี้อาจมีภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ตามมาเช่นรกค้างระยะคลอดยาวนาน ตกเลือดหลังคลอดติดเชื้อหลังคลอด ภาวะเด็กขาดออกซิเจน ขณะคลอด (Birth Asphyxia) ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้จะก่อให้เกิดอันตรายต่อมารดาและทารก ทำให้งานอนามัยแม่และเด็กไม่บรรลุตามตัวชี้วัดสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ปัญหาดังกล่าวสามารถป้องกันได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2561ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาระบบงานอนามัยแม่และเด็กให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน WHO
- ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะแก่ผู้ให้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่นักจัดการสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก
- 4. จัดเวทีเสวนากลุ่มการจัดการ case เสี่ยงสูง เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก
- 5. กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้และสาธิตอาหารหญิงตั้งครรภ์/มารดาหลังคลอด/ผู้ดูแลโดยนักโภชนาการ
- 2. กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสาวไทยแก้มแดงมีลูกเพื่อชาติหญิงวัยเจริญพันธ์ อายุ ๒๐ – ๓๔ ปี
- 3. กิจกรรมจัดเสวนากลุ่มภาคีเครือข่าย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- บุคลากรผู้ให้บริการงานด้านอนามัยแม่และเด็กได้เพิ่มพูนความรู้และทักษะความสามารถใน
จัดบริการ ให้ได้มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก
- หญิงตั้งครรภ์/มารดาหลังคลอดและครอบครัว มีความรู้ ความตระหนักในการดูแลตนเอง
- อัตราทารกคลอดน้ำหนักต่ำกว่า2,500กรัมลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 2. กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสาวไทยแก้มแดงมีลูกเพื่อชาติหญิงวัยเจริญพันธ์ อายุ ๒๐ – ๓๔ ปี
วันที่ 17 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
- กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสาวไทยแก้มแดงมีลูกเพื่อชาติหญิงวัยเจริญพันธ์ อายุ ๒๐ – ๓๔ ปี
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 100 คน = 2,500 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสาวไทยแก้มแดงมีลูกเพื่อชาติหญิงวัยเจริญพันธ์ อายุ ๒๐ – ๓๔ ปี
รวมถึงผู้ที่สนใจภาคีเครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาหารคลอดก่อนกำหนด ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ทุกราย ทั้งนี้ หญิงไทยที่เป็นกลุ่มเป้าหมายต้องรับทราบและวางแผนการตั้งครรภ์เพื่อเป็นหลักฐานที่มั่นคงในการสร้างคนคุณภาพ ตามแผนพัฒนายุทธศาสตร์ชาติต่อไป โดยเปิดโอกาสให้หญิงกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มาสมัครเข้าร่วมโครงการสาวไทยแก้มแดงก่อนการตั้งครรภ์ทุกราย ได้จัดกิจกรรมรณรงค์ ณ ศาลาประชาคม บ้านทุ่งมะปรัง ม.1 ตำบลวังประจัน โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 100 คน รวมถึง อสม.และผู้ที่สนใจ
100
0
2. 3. กิจกรรมจัดเสวนากลุ่มภาคีเครือข่าย
วันที่ 17 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
- กิจกรรมจัดเสวนากลุ่มภาคีเครือข่าย
-ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 40 คน = 2,000 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 บาท x 40 คน = 2,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กิจกรรมจัดเสวนากลุ่มภาคีเครือข่าย
เพื่อร่วมกันขับเคลื่อนนโยบายมีลูกเพื่อชาติสร้างคนคุณภาพและสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนต่อไป รพ.สต.วังประจัน ได้รายงานข้อมูล ข้อเท็จจริงจากปัญหาการทำงานมนคลินิกรับฝากครรภ์ในพื้นที่ ได้แก่ ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมมีจำนวนสูงขึ้น ส่งผลให้มีปัญหาการฝากท้องล่าช้า คลอดก่นกำหนด มีภาวะซีดและคลอดบุตรน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ การสะท้อนข้อมูลในพื้นที่ให้เครือข่ายรับทราบเพื่อสร้างการตระหนักรู้และร่วมกันรับผิดชอบปัญหาดังกล่าวในชุมชน โดยมุ่งเน้นการเชื่อมโยงการประสานงาน ระหว่าง องค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน รพ.สต.วังประจัน ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ครูอนามัยโรงเรียนบ้านวังประจัน โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลวังประจัน ครูส่งเสริมกาศึกษานอกระบบตามอัธยาศัยตำบลวังประจัน มีผู้เข้าร่วมจำนวน 40 คน
50
0
3. 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่นักจัดการสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก
วันที่ 18 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่นักจัดการสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก
-ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 40 คน = 2,000 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 บาท x 40 คน = 2,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่นักจัดการสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก
โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนร่วมกับการวางแผนก่อนแต่งงาน วางแผนการตั้งครรภ์ การวางแผนการฝากครรภ์คุณภาพ ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การวางแผนการมีลูกเพื่อชาติตามนโยบายรัฐบาล และเชื่อมไปยังการวางแผนการสร้างคนคุณภาพในชุมชนต่อไป โดยเน้นการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่าย ในการขับเคลื่อนและผลักดันให้มีการร่วมมือ ร่วมใจ รวมพลังภาคีเครือข่าย ได้จัดทำขึ้นที่ รพ.สต.วังประจัน โดยมีผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 40 คน
40
0
4. 4. จัดเวทีเสวนากลุ่มการจัดการ case เสี่ยงสูง เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก
วันที่ 19 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
- จัดเวทีเสวนากลุ่มการจัดการ case เสี่ยงสูง เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก
-ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 40 คน = 2,000 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 บาท x 40 คน = 2,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จัดเวทีเสวนากลุ่มการจัดการ case เสี่ยงสูง เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก
เสี่ยงสูงเพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็กโดยการเชิญภาคีเครือข่าย และกลุ่มเป้าหมายในชุมชน หญิงตั้งครรภ์ ผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์ นักจัดการสุขภาพ แกนนำกลุ่มสตรี ผู้นำศาสนา เพื่อให้ได้ทราบถึงหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง และเป็นโรคในระหว่างการตั้งครรภ์ จากการรับฝากครรภ์พบว่า มีปัญหาโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตเพิ่มขึ้น และเกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์อายุน้อยซึ่งส่งผลกระทบต่อทารกในครรภ์ และต่อมารดาในระยะยาว มีผู้เข้าร่วมเสวนาจำนวน 40 คน
40
0
5. 5. กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้และสาธิตอาหารหญิงตั้งครรภ์/มารดาหลังคลอด/ผู้ดูแลโดยนักโภชนาการ
วันที่ 24 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
- กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้และสาธิตอาหารหญิงตั้งครรภ์/มารดาหลังคลอด/ผู้ดูแลโดยนักโภชนาการ
-ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 40 คน = 2,000 บาท
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 บาท x 40 คน = 2,000 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากร 300 บาท x 6 ชั่วโมง= 1,800 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้และสาธิตอาหารหญิงตั้งครรภ์/มารดาหลังคลอด/ผู้ดูแลโดยนักโภชนาการ
โดยนักโภชนาการ เนื่องจากปัญหาหน้างานการรับฝากครรภ์พบว่า มีการเกิดโรคความดันโลหิต โรคเบาหวานในหญิงตั้งครรภ์มีจำนวนเพิ่มสูงขึ้น ในพื้นที่ ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพื่อลดผลกระทบต่อทารกในครรภ์และหญิงตั้งครรภ์รวมถึงผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์ ผู้มีบทบาทสำคัญต่อหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน และจากการประเมินพบว่า หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาเรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตส่วนใหญ่ขาดความรู้และความเข้าใจ เรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสม มีผู้เข้าร่วม อบรม จำนวน 40 คน
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาระบบงานอนามัยแม่และเด็กให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน WHO
ตัวชี้วัด : อัตราการตายของมารดาเป็นศูนย์
100.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะแก่ผู้ให้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก
ตัวชี้วัด : 1.อัตราภาวะโลหิตจางลดลง 50% ในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์
2.อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยลดลง 30%
3.อัตราการกินนมแม่อย่างเดียวใน 6 เดือนแรกเพิ่มขึ้นเป็นอย่างน้อย 50%
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
220
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
120
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาระบบงานอนามัยแม่และเด็กให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน WHO (2) ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะแก่ผู้ให้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่นักจัดการสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก (2) 4. จัดเวทีเสวนากลุ่มการจัดการ case เสี่ยงสูง เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก (3) 5. กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้และสาธิตอาหารหญิงตั้งครรภ์/มารดาหลังคลอด/ผู้ดูแลโดยนักโภชนาการ (4) 2. กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสาวไทยแก้มแดงมีลูกเพื่อชาติหญิงวัยเจริญพันธ์ อายุ ๒๐ – ๓๔ ปี (5) 3. กิจกรรมจัดเสวนากลุ่มภาคีเครือข่าย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางฮามีดะหลังยาหน่าย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ”
ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางฮามีดะหลังยาหน่าย
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 3 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญ คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัยโดยมีกลวิธีที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ได้แก่การให้บริการตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ขณะเจ็บครรภ์คลอดและหลังคลอดการประเมินภาวะเสี่ยงของมารดาขณะตั้งครรภ์และดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมจะสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาทั้งที่จะเกิดแก่มารดาและทารกได้การฝากครรภ์เร็วฝากครรภ์ตามเกณฑ์ ทำให้สามารถคัดกรองภาวะเสี่ยงและแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องตามระบบหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงจะเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ซึ่งจะมีผลกระทบถึงพัฒนาการเด็กและสติปัญญาในการเรียนรู้ต่ำ ซึ่งปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของมารดาและทารก จากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของอำเภอควนโดน ปี 2559 – 2560 พบว่าอัตราฝากครรภ์5ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ56.85 , 45.59 และ 59.64ตามลำดับซึ่งต่ำกว่าตัวชี้วัด (มากกว่าร้อยละ60)อัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางร้อยละ19.92 , 18.89และ11.62ตามลำดับซึ่งสูงกว่าตัวชี้วัด (ไม่เกินร้อยละ 10)อัตราทารกคลอดน้ำหนักต่ำกว่า2500 กรัมร้อยละ9.90 , 7.32 และ 12.90ตามลำดับซึ่งสูงกว่าตัวชี้วัด (ไม่เกินร้อยละ7)นอกจากนี้อาจมีภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ตามมาเช่นรกค้างระยะคลอดยาวนาน ตกเลือดหลังคลอดติดเชื้อหลังคลอด ภาวะเด็กขาดออกซิเจน ขณะคลอด (Birth Asphyxia) ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้จะก่อให้เกิดอันตรายต่อมารดาและทารก ทำให้งานอนามัยแม่และเด็กไม่บรรลุตามตัวชี้วัดสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ปัญหาดังกล่าวสามารถป้องกันได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2561ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาระบบงานอนามัยแม่และเด็กให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน WHO
- ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะแก่ผู้ให้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่นักจัดการสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก
- 4. จัดเวทีเสวนากลุ่มการจัดการ case เสี่ยงสูง เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก
- 5. กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้และสาธิตอาหารหญิงตั้งครรภ์/มารดาหลังคลอด/ผู้ดูแลโดยนักโภชนาการ
- 2. กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสาวไทยแก้มแดงมีลูกเพื่อชาติหญิงวัยเจริญพันธ์ อายุ ๒๐ – ๓๔ ปี
- 3. กิจกรรมจัดเสวนากลุ่มภาคีเครือข่าย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 120 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 100 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- บุคลากรผู้ให้บริการงานด้านอนามัยแม่และเด็กได้เพิ่มพูนความรู้และทักษะความสามารถใน
จัดบริการ ให้ได้มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก- หญิงตั้งครรภ์/มารดาหลังคลอดและครอบครัว มีความรู้ ความตระหนักในการดูแลตนเอง
- อัตราทารกคลอดน้ำหนักต่ำกว่า2,500กรัมลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 2. กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสาวไทยแก้มแดงมีลูกเพื่อชาติหญิงวัยเจริญพันธ์ อายุ ๒๐ – ๓๔ ปี |
||
วันที่ 17 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
100 | 0 |
2. 3. กิจกรรมจัดเสวนากลุ่มภาคีเครือข่าย |
||
วันที่ 17 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
50 | 0 |
3. 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่นักจัดการสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก |
||
วันที่ 18 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่นักจัดการสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก -ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 40 คน = 2,000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 บาท x 40 คน = 2,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่นักจัดการสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนร่วมกับการวางแผนก่อนแต่งงาน วางแผนการตั้งครรภ์ การวางแผนการฝากครรภ์คุณภาพ ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การวางแผนการมีลูกเพื่อชาติตามนโยบายรัฐบาล และเชื่อมไปยังการวางแผนการสร้างคนคุณภาพในชุมชนต่อไป โดยเน้นการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่าย ในการขับเคลื่อนและผลักดันให้มีการร่วมมือ ร่วมใจ รวมพลังภาคีเครือข่าย ได้จัดทำขึ้นที่ รพ.สต.วังประจัน โดยมีผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 40 คน
|
40 | 0 |
4. 4. จัดเวทีเสวนากลุ่มการจัดการ case เสี่ยงสูง เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก |
||
วันที่ 19 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
40 | 0 |
5. 5. กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้และสาธิตอาหารหญิงตั้งครรภ์/มารดาหลังคลอด/ผู้ดูแลโดยนักโภชนาการ |
||
วันที่ 24 กันยายน 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาระบบงานอนามัยแม่และเด็กให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน WHO ตัวชี้วัด : อัตราการตายของมารดาเป็นศูนย์ |
100.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะแก่ผู้ให้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก ตัวชี้วัด : 1.อัตราภาวะโลหิตจางลดลง 50% ในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ 2.อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยลดลง 30% 3.อัตราการกินนมแม่อย่างเดียวใน 6 เดือนแรกเพิ่มขึ้นเป็นอย่างน้อย 50% |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 220 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 120 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 100 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาระบบงานอนามัยแม่และเด็กให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน WHO (2) ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะแก่ผู้ให้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่นักจัดการสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก (2) 4. จัดเวทีเสวนากลุ่มการจัดการ case เสี่ยงสูง เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก (3) 5. กิจกรรมพัฒนาองค์ความรู้และสาธิตอาหารหญิงตั้งครรภ์/มารดาหลังคลอด/ผู้ดูแลโดยนักโภชนาการ (4) 2. กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสาวไทยแก้มแดงมีลูกเพื่อชาติหญิงวัยเจริญพันธ์ อายุ ๒๐ – ๓๔ ปี (5) 3. กิจกรรมจัดเสวนากลุ่มภาคีเครือข่าย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางฮามีดะหลังยาหน่าย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......