กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดย ภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ นำไปสู่แนวทางปฏิบัติการป้องกัน เฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ     กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก สามารถเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ร่วมมือกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่ตำบลวังประจัน ทีมพิชิตยุงลาย ออกสุ่มลูกน้ำยุงลายทุกหลังคาเรือนและในโรงเรียน ตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 –
เดือนสิงหาคม 2561

บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย ได้แก่ หมู่ที่ 1 คือบ้านเลขที่ 216 นส.รัศมีเดือน สะหลี หมู่ที่ 2 คือบ้านเลขที่ 105 นายกอหรี ล่านุ้ย หมู่ที่ 3 คือบ้านเลขที่ 186 น.ส.จันทรมาศ บูอีตำ หมู่ที่ 4 คือบ้านเลขที่ 84 นางตีเยา หมัดสารี จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 – เดือนกันยายน 2561 มีผู้ป่วยยืนยันไข้เลือดออกจำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 33.36 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 133.46 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยสงสัยโรคชิกุนคุนย่า จำนวน 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 200.20 ต่อแสนประชากร จึงต้องมีการเฝ้าระวังการระบาดและลงสำรวจลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลวังประจันอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : 1.ค่า HI (House Index) ดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบใน หมูบานไม่เกินร้อยละ 10 อย่างน้อยร้อยละ 80 ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ (รอยละของการพบลูกน้ำยุงลายในบานที่ทําการสํารวจในพื้นที่) 2. ค่า BI (BreteauIndex)ดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบในภาชนะต่างๆ ในครัวเรือน ไม่เกินร้อยละ 50 (จํานวนภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลายใน 100 หลังคาเรือน)
80.00 80.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด
ตัวชี้วัด : 1.ค่า CI (Container Index) คาดัชนีลูกน้ำยุงลายที่ พบในอาคารสถานที่และโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (รอยละของการพบลูกน้ำยุงลายในภาชนะใสน้ำ) เป็น 0 ร้อยละ 100 ของโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด ในเขตรับผิดชอบ
100.00 100.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
100.00 100.00

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ของหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ (2) ข้อที่ 2 เพื่อลดค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมัสยิด (3) ข้อที่ 3 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดการยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการควบคุมพาหะนำโรค (2) 2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำประจำครอบครัว ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) 3. กิจกรรมประกวดบ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh