กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ


“ โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลท่ามิหรำ ”

ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลท่ามิหรำ

ที่อยู่ ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3355-2-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลท่ามิหรำ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลท่ามิหรำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลท่ามิหรำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3355-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,970.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของโลกและมีการแพร่ระบาดในช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา และเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตและเข้ารับการรักษาพยาบาลจำนวนมาก ซึ่งเกิดขึ้นได้ทุกกลุ่มวัย ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกถือเป็นโรคประจำถิ่น โดยเฉพาะประเทศในแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี่ โดยมียุงลายบ้าน เป็นพาหะนำโรคและพบว่ามีการระบาดมากในช่วงปลายฤดูฝน การระบาดมักจะเริ่มตั้งแต่พฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมของทุกปี แต่จะพบผู้ป่วยสูงที่สุดในช่วงมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคมของทุกปี
สำหรับตำบลท่ามิหรำ มีจำนวนผู้ป่วย 3 ปีย้อนหลัง ดังนี้ ปี ๒๕๕๘มีผู้ป่วย ๗ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๑๒๐.๓๒ ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. ๒๕๕๙จำนวน ๑๒ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๒๐๔.๔๖ต่อแสนประชากร ซึ่งสูงกว่าค่ามัธยฐาน ๕ ปี ย้อยหลัง ปี พศ. ๒๕๖๐ มีผู้ป่วย ๑๒ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๒๐๓.๕๓ต่อแสนประชากรแนวโน้มของการระบาดจะยังคงมีต่อเนื่องและรุ่นแรงมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. บ้านที่พบลูกน้ำยุงลายมีจำนวนลดลง
  2. จำนวนภาชนะที่พบลุกน้ำยุงลายลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมส่งเสริมป้องกันโรค
  2. กิจกรรมการควบคุมโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลงจากค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง ประชาชนให้ความร่วมมือในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมส่งเสริมป้องกันโรค

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ออกสำรวจลูกน้ำยุงลาย รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทุกหมู่บ้าน และออกพ่นหมอกควันในโรงเรียนก่อนเปิดเทอมทั้ง 2 เทอม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลงจากปี 2560

 

0 0

2. กิจกรรมการควบคุมโรค

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

พ่นหมอกควันกรณีเกิดโรค ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง พ่นสเปร์กรณีบ้านผู้ป่วยที่มีข้อจำกัดในการพ่นหมอกควัน แจกทรายอะเบทแก่บ้านที่เกิดดรคและบ้านในรัศมี 100 เมตรจากบ้านที่เกิดโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินโครงการไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2561 พบว่ามีผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน  4 ราย  ซึ่งลดลงจากปี 2560  (ปี2560 จำนวน 21 ราย) และจากการสอบสวนโรคพบว่าผู้ป่วยบางรายได้รับเชื้อมาจากบ้านญาติที่อยู่ต่างจังหวัด  และบางรายก็รับเชื้อจากญาติซึ่งกำลังป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก แล้วมาพักอาศัยอยู่ด้วย  ซึ่งจะเห็นได้ว่าผู้ป่วยไม่ได้รับเชื้อไข้เลือดออกจากพื้นที่ตำบลท่ามิหรำทุกราย  ทั้งนี้อาจจะเป็นผลจากการช่วยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์อย่างต่อเนื่อง  โดยเฉพาะกิจกรรมสำรวจลูกน้ำแบบไขว้หมู่บ้าน เป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้ อสม. และประชาชน ให้ความสำคัญและให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงมากขึ้น ส่งผลให้ปี 2561 มีผู้ป่วยลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 บ้านที่พบลูกน้ำยุงลายมีจำนวนลดลง
ตัวชี้วัด : ต่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนไม่เกินร้อยละ ๑๐
0.00

 

2 จำนวนภาชนะที่พบลุกน้ำยุงลายลดลง
ตัวชี้วัด : จำนวนภาชนะที่พบลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน โรงเรียน และวัด ไม่เกินร้อยละ 10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) บ้านที่พบลูกน้ำยุงลายมีจำนวนลดลง (2) จำนวนภาชนะที่พบลุกน้ำยุงลายลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมป้องกันโรค (2) กิจกรรมการควบคุมโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลท่ามิหรำ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3355-2-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด