โครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชน ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชน ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560 ”
เขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าควาย หมู่ที่ 5,6,12,14 ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ประธานกลุ่ม อสม.รพ.สต.บ้านท่าควาย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง
สิงหาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชน ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ เขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าควาย หมู่ที่ 5,6,12,14 ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3312-03-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชน ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าควาย หมู่ที่ 5,6,12,14 ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชน ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชน ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ เขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าควาย หมู่ที่ 5,6,12,14 ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3312-03-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาด้านสุขภาพที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไข เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังที่เสียค่าใช้จ่ายสูงหากเป็นระยะเวลายาวนานและไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่มีการเฝ้าระวังจะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนได้ บางรายรุนแรงขนาดต้องตัดอวัยวะปลายบางส่วนหรืออาจเสียชีวิตได ซึ่งเป็นภาระขอญาติและครอบครัว จากข้อมูลผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบของรพ.สต.บ้านท่าควาย ต.โคกม่วง อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง จากการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยพบว่าผู้ป่วยังปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง รับประทานยาไม่ต่อเนื่อง และอื่นๆที่เกี่ยวข้องอันจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพแทรกซ้อนหรือเพิ่มขึ้น ล้วนเป็นปัญหาต้องดูแลอย่างเร่งด่วนเพื่อป้องกันไม่ให้จำนวนผู้ป่วยมากยิ่งขึ้น อสม.รพ.สต.บ้านท่าควายจึงเล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชนฯ ขึ้น เพื่อให้ทีมสุขภาพชุมชนดูแลสุขภาพผู้ป่วยให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดความรุนแรงของโรค ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยและสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่ออบรมให้ความรู้ทีมสุขภาพในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานและควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อลดความรุนแรงของโรคและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย
- เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
26
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
26
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตนในการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง ซึ่งวัดได้จากสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวผู้ป่วย
2.ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
3.ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เยี่ยมผู้ป่วยและให้คำแนะนำญาติผู้ป่วย
วันที่ 12 เมษายน 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 45 ไม่บรรลุตัวชี้วัด ไม่ถึงค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ร้อยละ 50
2.อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิต ร้อยละ 50
3.ไม่พบอัตราภาวะแทรกซ้อนเพิ่มในผู้ป่วย ร้อยละ 88.46
4.อัตราผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการรักษาพยาบาล และส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 10
5.อัตราของญาติมีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 100
78
78
2. อบรมเชิงปฏิบัติการ ประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วย
วันที่ 7 มิถุนายน 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทีมสุขภาพชุม จำนวน 26 คน ลงพื้นที่ติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
26
26
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่ออบรมให้ความรู้ทีมสุขภาพในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : อัตราทีมสุขภาพมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ 100
2
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานและควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ 80 และ อัตตรผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ร้อยละ 80
3
เพื่อลดความรุนแรงของโรคและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : อัตราไม่พบภาวะแทรกซ้อนเพิ่มในผู้ป่วยร้อยละ 20
4
เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 100 และ อัตราของญาติมีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 100
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
52
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
26
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
26
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้ทีมสุขภาพในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานและควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อลดความรุนแรงของโรคและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย (4) เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชน ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3312-03-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ประธานกลุ่ม อสม.รพ.สต.บ้านท่าควาย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชน ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560 ”
เขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าควาย หมู่ที่ 5,6,12,14 ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ประธานกลุ่ม อสม.รพ.สต.บ้านท่าควาย
สิงหาคม 2560
ที่อยู่ เขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าควาย หมู่ที่ 5,6,12,14 ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3312-03-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชน ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าควาย หมู่ที่ 5,6,12,14 ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชน ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชน ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ เขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านท่าควาย หมู่ที่ 5,6,12,14 ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3312-03-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาด้านสุขภาพที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไข เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรังที่เสียค่าใช้จ่ายสูงหากเป็นระยะเวลายาวนานและไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่มีการเฝ้าระวังจะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนได้ บางรายรุนแรงขนาดต้องตัดอวัยวะปลายบางส่วนหรืออาจเสียชีวิตได ซึ่งเป็นภาระขอญาติและครอบครัว จากข้อมูลผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบของรพ.สต.บ้านท่าควาย ต.โคกม่วง อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง จากการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยพบว่าผู้ป่วยังปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง รับประทานยาไม่ต่อเนื่อง และอื่นๆที่เกี่ยวข้องอันจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพแทรกซ้อนหรือเพิ่มขึ้น ล้วนเป็นปัญหาต้องดูแลอย่างเร่งด่วนเพื่อป้องกันไม่ให้จำนวนผู้ป่วยมากยิ่งขึ้น อสม.รพ.สต.บ้านท่าควายจึงเล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชนฯ ขึ้น เพื่อให้ทีมสุขภาพชุมชนดูแลสุขภาพผู้ป่วยให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดความรุนแรงของโรค ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยและสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยและญาติในด้านการักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่ออบรมให้ความรู้ทีมสุขภาพในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานและควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อลดความรุนแรงของโรคและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย
- เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 26 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 26 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตนในการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง ซึ่งวัดได้จากสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวผู้ป่วย 2.ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 3.ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เยี่ยมผู้ป่วยและให้คำแนะนำญาติผู้ป่วย |
||
วันที่ 12 เมษายน 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 45 ไม่บรรลุตัวชี้วัด ไม่ถึงค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ร้อยละ 50 2.อัตราผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิต ร้อยละ 50 3.ไม่พบอัตราภาวะแทรกซ้อนเพิ่มในผู้ป่วย ร้อยละ 88.46 4.อัตราผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการรักษาพยาบาล และส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 10 5.อัตราของญาติมีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 100
|
78 | 78 |
2. อบรมเชิงปฏิบัติการ ประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วย |
||
วันที่ 7 มิถุนายน 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทีมสุขภาพชุม จำนวน 26 คน ลงพื้นที่ติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
|
26 | 26 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่ออบรมให้ความรู้ทีมสุขภาพในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัด : อัตราทีมสุขภาพมีความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ 100 |
|
|||
2 | เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานและควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ 80 และ อัตตรผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ ร้อยละ 80 |
|
|||
3 | เพื่อลดความรุนแรงของโรคและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย ตัวชี้วัด : อัตราไม่พบภาวะแทรกซ้อนเพิ่มในผู้ป่วยร้อยละ 20 |
|
|||
4 | เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 100 และ อัตราของญาติมีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 100 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 52 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 26 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 26 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้ทีมสุขภาพในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานและควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อลดความรุนแรงของโรคและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย (4) เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีส่วนร่วมในด้านการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยทีมสุขภาพชุมชน ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3312-03-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ประธานกลุ่ม อสม.รพ.สต.บ้านท่าควาย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......