โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนปลอดโรค ประจำปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนปลอดโรค ประจำปี 2560 ”
ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ครูรักษาการในตำแหน่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง
มิถุนายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนปลอดโรค ประจำปี 2560
ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3312-03-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มิถุนายน 2560 ถึง 5 มิถุนายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนปลอดโรค ประจำปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนปลอดโรค ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนปลอดโรค ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3312-03-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มิถุนายน 2560 - 5 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่า และมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคตและพัฒนาเด็กให้ได้รับการเตรียมความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิ่ตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การที่เด็กเข้ามาอยู่รวมกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อาจจะทำให้เด็กเจ็บป่วยได้ง่ายเนื่องจากเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาก ซึ่งพฤติกรรมเด็กที่อยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาก ส่งผลต่อการแพร่กระจายโรคได้ง่ายย่อมส่งผลต่อพัฒนาการเช่นการเจ็บป่วยในวัยนี้อาจส่งผลต่อพัฒนาการและสุขภาพของเด็ก นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบต่อผู้ปกครองที่ต้องหยุดงานเพื่อดูแลเด็ก ทำให้ขาดรายได้ เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ดังน้้นการป้องกันควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการลดและแก้ไขปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่พบได้บ่อย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนเห็นความสำคัฯญของผลกระทบจากปัญหาดังกล่าว จึงได้กำหนดจัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ความรู้ผู้ปกครองรู้จักการป้องกันและเฝ้าระวังเกี่ยวกับโรคติดต่อต่างๆเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่ดีมีพัฒนาการสมวัย ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ครู ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังเกี่ยวกับโรคติดต่อสามารถนำไปปฏิบัติตัวได้ถูกต้องในชีวิตประจำวัน
- เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการคัดกรองเด็กตอนเช้าก่อนรับเด็กเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกวัน
- เด็กได้รับการเสริมสร้างพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพได้ถูกวิธี ส่งเสริมพัฒนา่การได้เหมาะสมตามวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
135
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
135
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราป่วยด้วยโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบทางเดินหายใจในเด็ก โรคมือเท้าปาก โรคอุจจาระร่วง ลดลงอย่างต่อเนื่อง
2.สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้
3.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
4.เด็กสามารถดูแลตัวเองได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ บอร์ดความรู้ แผ่นพับประชาสัมพันธ์ น้ำยาทำความสะอาด น้ำยาฆ่าเชื้อ วัสดุทำความสะอาด สาธิตการป้องกันโรคติดต่อ แบ่งกลุ่มปฏิบัติจริง
วันที่ 5 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดบอร์ดและแจกแผ่นพับ ให้ความรู้และหลักการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคแก่ผู้ปกครอง และทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรคในอาคาร สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ สื่อ เครื่องมือเครื่องใช้ของศูนย์พร้อมการตรวจคัดกรองเด็กในตอนเช้าทุกวัน ทุกคน สามารถป้องกันและควบคุมโรคได้ ร้อยละ 80
135
135
2. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สาธิตการป้องกันโรคติดต่อ แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ
วันที่ 26 กรกฎาคม 2560 เวลา 12.30-16.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนและดูแลเด็กไม่ให้ป่วยเป็นโรคติดต่อได้ ร้อยละ 95.5
เด็กมีพฤติกรรมในการพัฒนาการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค เช่น การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การล้างมือหลังใช้ส้วม ได้ ร้อยละ 100
135
135
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้ปกครอง ครูและนักเรียน มีความรู้ ตระหนัก และให้ความร่วมมือในการดูแล ป้องกันโรคติดต่อมากขึ้น ไม่พบอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อ เช่น ตาแดง คางทูม สุกใส และอัตราการป่วยโรคมือเท้าปากลดลง จากปี 2559 จำนวน 11 ราย ในปี 2560 จำนวน 9 ราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ครู ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังเกี่ยวกับโรคติดต่อสามารถนำไปปฏิบัติตัวได้ถูกต้องในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังเกี่ยวกับโรคติดต่อและสามารถนำไปปฏิบัติได้ถูกต้องในชีวิตประจำวัน ได้ร้อยละ 100
2
เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการคัดกรองเด็กตอนเช้าก่อนรับเด็กเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกวัน
ตัวชี้วัด : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถควบคุมแพร่ระบาดของโรคได้ ร้อยละ 80
3
เด็กได้รับการเสริมสร้างพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพได้ถูกวิธี ส่งเสริมพัฒนา่การได้เหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ร้อยละ 100
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
270
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
135
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
135
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ครู ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังเกี่ยวกับโรคติดต่อสามารถนำไปปฏิบัติตัวได้ถูกต้องในชีวิตประจำวัน (2) เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการคัดกรองเด็กตอนเช้าก่อนรับเด็กเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกวัน (3) เด็กได้รับการเสริมสร้างพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพได้ถูกวิธี ส่งเสริมพัฒนา่การได้เหมาะสมตามวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนปลอดโรค ประจำปี 2560 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3312-03-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ครูรักษาการในตำแหน่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนปลอดโรค ประจำปี 2560 ”
ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ครูรักษาการในตำแหน่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวน
มิถุนายน 2560
ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3312-03-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มิถุนายน 2560 ถึง 5 มิถุนายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนปลอดโรค ประจำปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนปลอดโรค ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนปลอดโรค ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3312-03-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มิถุนายน 2560 - 5 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่า และมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคตและพัฒนาเด็กให้ได้รับการเตรียมความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิ่ตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การที่เด็กเข้ามาอยู่รวมกันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อาจจะทำให้เด็กเจ็บป่วยได้ง่ายเนื่องจากเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาก ซึ่งพฤติกรรมเด็กที่อยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาก ส่งผลต่อการแพร่กระจายโรคได้ง่ายย่อมส่งผลต่อพัฒนาการเช่นการเจ็บป่วยในวัยนี้อาจส่งผลต่อพัฒนาการและสุขภาพของเด็ก นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบต่อผู้ปกครองที่ต้องหยุดงานเพื่อดูแลเด็ก ทำให้ขาดรายได้ เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ดังน้้นการป้องกันควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการลดและแก้ไขปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่พบได้บ่อย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนเห็นความสำคัฯญของผลกระทบจากปัญหาดังกล่าว จึงได้กำหนดจัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ความรู้ผู้ปกครองรู้จักการป้องกันและเฝ้าระวังเกี่ยวกับโรคติดต่อต่างๆเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพที่ดีมีพัฒนาการสมวัย ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ครู ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังเกี่ยวกับโรคติดต่อสามารถนำไปปฏิบัติตัวได้ถูกต้องในชีวิตประจำวัน
- เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการคัดกรองเด็กตอนเช้าก่อนรับเด็กเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกวัน
- เด็กได้รับการเสริมสร้างพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพได้ถูกวิธี ส่งเสริมพัฒนา่การได้เหมาะสมตามวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 135 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 135 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราป่วยด้วยโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบทางเดินหายใจในเด็ก โรคมือเท้าปาก โรคอุจจาระร่วง ลดลงอย่างต่อเนื่อง 2.สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ 3.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย 4.เด็กสามารถดูแลตัวเองได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ บอร์ดความรู้ แผ่นพับประชาสัมพันธ์ น้ำยาทำความสะอาด น้ำยาฆ่าเชื้อ วัสดุทำความสะอาด สาธิตการป้องกันโรคติดต่อ แบ่งกลุ่มปฏิบัติจริง |
||
วันที่ 5 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดบอร์ดและแจกแผ่นพับ ให้ความรู้และหลักการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคแก่ผู้ปกครอง และทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรคในอาคาร สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ สื่อ เครื่องมือเครื่องใช้ของศูนย์พร้อมการตรวจคัดกรองเด็กในตอนเช้าทุกวัน ทุกคน สามารถป้องกันและควบคุมโรคได้ ร้อยละ 80
|
135 | 135 |
2. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สาธิตการป้องกันโรคติดต่อ แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ |
||
วันที่ 26 กรกฎาคม 2560 เวลา 12.30-16.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนและดูแลเด็กไม่ให้ป่วยเป็นโรคติดต่อได้ ร้อยละ 95.5
|
135 | 135 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้ปกครอง ครูและนักเรียน มีความรู้ ตระหนัก และให้ความร่วมมือในการดูแล ป้องกันโรคติดต่อมากขึ้น ไม่พบอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อ เช่น ตาแดง คางทูม สุกใส และอัตราการป่วยโรคมือเท้าปากลดลง จากปี 2559 จำนวน 11 ราย ในปี 2560 จำนวน 9 ราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ครู ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังเกี่ยวกับโรคติดต่อสามารถนำไปปฏิบัติตัวได้ถูกต้องในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังเกี่ยวกับโรคติดต่อและสามารถนำไปปฏิบัติได้ถูกต้องในชีวิตประจำวัน ได้ร้อยละ 100 |
|
|||
2 | เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการคัดกรองเด็กตอนเช้าก่อนรับเด็กเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกวัน ตัวชี้วัด : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถควบคุมแพร่ระบาดของโรคได้ ร้อยละ 80 |
|
|||
3 | เด็กได้รับการเสริมสร้างพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพได้ถูกวิธี ส่งเสริมพัฒนา่การได้เหมาะสมตามวัย ตัวชี้วัด : เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ร้อยละ 100 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 270 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 135 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 135 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ครู ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ เฝ้าระวังเกี่ยวกับโรคติดต่อสามารถนำไปปฏิบัติตัวได้ถูกต้องในชีวิตประจำวัน (2) เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการคัดกรองเด็กตอนเช้าก่อนรับเด็กเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกวัน (3) เด็กได้รับการเสริมสร้างพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพได้ถูกวิธี ส่งเสริมพัฒนา่การได้เหมาะสมตามวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวนปลอดโรค ประจำปี 2560 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L3312-03-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ครูรักษาการในตำแหน่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนยวน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......