โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกในปีงบประมาณ2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกในปีงบประมาณ2560 ”
เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางผุสดี หมัดอาดำ,นางฝาหรีดะฮ์ มุเส็มสะเดา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกในปีงบประมาณ2560
ที่อยู่ เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7889-4-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกในปีงบประมาณ2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกในปีงบประมาณ2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกในปีงบประมาณ2560 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7889-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชนกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วงสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 13 (3)มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน รวมถึงสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร ดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ตามประกาศฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2557ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น กลุ่มชมรมหรือองค์กรประชาชนสนับสนุนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมี ส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ
ดังนั้นกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลปริก เห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น กลุ่มชมรมหรือองค์กรประชาชนสนับสนุนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่การด้านการส่งเสริมและป้องกันโรค การรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุกการฟื้นฟูสภาพให้กับประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้นการบริหารจัดการกองทุนเป็นกลไกสำคัญในการที่จะเชื่อมโยงเข้าถึงการประสาน การทำงานให้คณะกรรมการบริหารกองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เข้าใจแนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจนบทบาทและหน้าที่ของตนเองในการร่วมเป็นคณะกรรมการการใช้โปรแกรมในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในการทำงานด้านบัญชี การดำเนินโครงการ กิจกรรม และการจัดการข้อมูลพื้นฐานส่งผลให้ดำเนินการการบริหารจัดการงานอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไปจึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 2.1เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เข้าใจแนวทางการปฏิบัติงาน บทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจนการร่วมเป็นคณะกรรมการ ตามประกาศฉบับใหม่ พ.ศ. 2557
- 2.2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการกองทุน คณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจในการวางแผนยุทธศาสตร์ การกลั่นกรอง แนวทางการดำเนินงาน ก่อนที่จะอนุมัติตลอดการติดตามประเมินผลโครงการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
- 2.3 เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา และบริหารจัดการในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
- 2.4 เพื่อบริหารจัดการกองทุนฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
80
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๙.1 คณะกรรมการบริหารฯอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ เข้าใจวัตถุประสงค์ แนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจนบทบาทและหน้าที่ของตนเองในการร่วมเป็นคณะกรรมการตามประกาศฉบับใหม่ พ.ศ. 2557และการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
๙.2 คณะกรรมการบริหารฯและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ คณะทำงาน มีความรู้ ความเข้าใจ
ในการอนุมัติ การกลั่นกรองโครงการ แนวทางการดำเนินงาน ติดตามโครงการกิจรรม เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ถูกต้องตามหลักเกณฑ์
๙.3 คณะกรรมการบริหารฯอนุกรรมการฝ่ายต่างๆเกิดการพัฒนาศักยภาพตนเอง แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา และบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
๙.4 กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เกิดการบริหารจัดการอย่าง
มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมตามหลักธรรมาภิบาล มากยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะอนุกรรมการวางแผนยุธศาสตร์ ครั้งที่ 1/60
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทางเลขานุการกองทุนฯได้เสนอแผนโครงการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ปี 2560
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับการอนุมัติแผนโครงการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ปี 2560 จากคณะอนุกรรมการวางแผนยุทธศาสตร์กองทุนฯ
9
9
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการวางแผนยุทธศาสตร์ ครั้งที่ 1/60
วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับการอนุมัติในการพิจารณาแผนโครงการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ปี 2560 จากคณะอนุกรรมการวางแผนยุทธศาสตร์
9
9
3. ประชุมคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการต่างๆ ครั้งที่ 1/60
วันที่ 28 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เลขานุการกองทุนฯได้ทำการเสนอผลการดำเนินงานโครงการทั้งหมดในปี 2559 ต่อคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ
52
29
4. ติดตั้งโปรแกรม Antivirus เพื่อใช้ในในงานจัดทำเอกสารกองทุนฯ
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ทำการติดตั้งโปรแกรม Antivirus เพื่อใช้ในในงานจัดทำเอกสารกองทุนฯ
1
0
5. ค่าติดตั้งโปรแกรมคอมฯและค่า USB WIRELESS TP-LINK
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ทำการติดตั้งโปรแกรมคอมฯและค่า USB WIRELESS TP-LINK
1
0
6. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการต่างๆ ครั้งที่ 1/60
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการต่างๆครบตามจำนวน
80
0
7. ประชุมคณะทำงานกองทุนเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
วันที่ 2 ธันวาคม 2559 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทำการประชุมคณะทำงานกองทุนเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เพื่อพิจารณาแผนการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
17
17
8. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะทำงานกองทุนฯเพื่อการดูแลผู้สูงอายุทีมีภาวะพึ่งพิง ครั้งที่ 1/60
วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะทำงานกองทุนฯเพื่อการดูแลผู้สูงอายุทีมีภาวะพึ่งพิงครบตามจำนวน
17
17
9. อบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ มีความรู้ความเข้าใจในการทำงานและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆและสามารถบริหารงานกองทุนฯเป็นไปในทิศทางเดียวกันและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
80
80
10. ค่าอาหารว่าง/อาหารกลางวันและเครื่องดื่ม
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการต่างๆมีความรู้ความเข้าใจในการทำงานและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู็ประสบการณ์เพื่อให้งานการบริหารกองทุนฯเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
80
80
11. ค่าจ้างเขียนป้ายอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆกองทุนฯ
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการต่างๆมีความรู้ความเข้าใจในการทำงานและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู็ประสบการณ์เพื่อให้งานการบริหารกองทุนฯเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
1
80
12. ค่าติดตั้ง USB ลำโพง
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาแผนงาน
1
0
13. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/60
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการต่างๆมีความรู้ความเข้าใจในการทำงานและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู็ประสบการณ์เพื่อให้งานการบริหารกองทุนฯเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
9
9
14. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/60
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาอนุมัติโครงการ
9
9
15. ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการLTC ครั้งที่ 1/60
วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มติที่ประชุมเห็นชอบอนุมัติโครงการและแผนการดุแลพยาบาล Care Plan
28
28
16. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชุมคณะอนุ LTC ครั้งที่1/60
วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาอนุมัติ Care Plan
11
11
17. ค่าอาหารว่าง/อาหารกลางวันและเครื่องดื่มประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 1/60
วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาอนุมัติ โครงการ
17
17
18. ประชุมคณะทำงานสำนักเลขานุการ ครั้งที่ 1/60
วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อนุมัติเห็นชอบคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ ฉบับเพิ่มเติม
6
6
19. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะทำงานสำนักเลขานุการ ครั้งที่ 1/60
วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อนุมัติเห็นชอบคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ ฉบับเพิ่มเติม
6
6
20. จัดซื้อวัสดุสำนักงาน
วันที่ 16 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาอนุมัติโครงการ
1
9
21. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/60
วันที่ 17 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาอนุมัติโครงการ
9
9
22. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/60
วันที่ 17 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาอนุมัติโครงการ
9
9
23. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 3/60
วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาอนุมัติโครงการ
17
17
24. ประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 3/60
วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาอนุมัติโครงการ
17
17
25. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/60
วันที่ 22 มิถุนายน 2560 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาอนุมัติ แผนการดูแลพยาบาล Care Plan
11
11
26. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/60
วันที่ 22 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาอนุมัติแผนการดูแลพยาบาล Care Plan
11
11
27. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 4/60
วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาอนุมัติโครงการ
17
17
28. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3/60
วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณากลั่นกรองโครงการ
9
9
29. ประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 4/60
วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาอนุมัติโครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ปี 2560
17
17
30. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการกองทุนฯ ครั้งที่ 3/60
วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาอนุมัติโครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ปี 2560
9
9
31. ประชุมคณะทำงานสำนักเลขานุการ ครั้งที่ 2/60
วันที่ 14 กันยายน 2560 เวลา 09.00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาโครงการบริหารจัดการกองทุนฯและแผนงบประมาณรายจ่ายปี 2561
6
6
32. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะทำงานสำนักเลขานุการ ครั้งที่ 2/60
วันที่ 14 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาโครงการงบบริหารกองทุนฯและแผนงบประมาณการเงินปี 2561
6
6
33. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1/60
วันที่ 14 กันยายน 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชุมวางแผนติดตามประเมินผลโครงการ ปี 2560
11
11
34. ประชุมคณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1/60
วันที่ 14 กันยายน 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชุมวางแผนติดตามประเมินผลโครงการ ปี 2560
11
11
35. ประชุมคณะอนุกรรมการวางแผนยุธศาสตร์ ครั้งที่ 2/60
วันที่ 15 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาแผนงานโครงการกองทุนฯประจำปีงบประมาณ 2561
9
9
36. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายแผนยุทธศาสตร์ ครั้งที่ 2/60
วันที่ 15 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาแผนงานโครงการกองทุนฯประจำปีงบประมาณ 2561
9
9
37. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 3/60
วันที่ 20 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาแผนการดูแลพยาบาลปี 2561
11
11
38. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 5/60
วันที่ 20 กันยายน 2560 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาโครงการ แผน และแผนการดูแลพยาบาล ประจำปี 2561
17
17
39. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 3/60
วันที่ 20 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาแผนการดุแลพยาบาล ปี 2561
11
11
40. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 5/60
วันที่ 20 กันยายน 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พิจารณาโครงการ แผน และแผนการดูแลพยาบาล ประจำปี 2561
17
17
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
การดำเนินโครงการบริหารกองทุนฯในปี 2560 มีการประชุมดังนี้
- ประชุมคณะกรรม
การบริหาร 5 ครั้ง
- ประชุมอนุกรรมการฝ่ายแผนฯ 2 ครั้ง
- ประชุมอนุกรรมการกลั่นกรอง 4 ครั้ง
- ประชุมอนุกรรมการติดตาม 1 ครั้ง
- ประชุมอนุกรรมการ LTC 3 ครั้ง
-ประชุมอนุกรรมการทำงานกองทุนฯ 1 ครั้ง
-ประชุมอนุกรรมการสำนักเลขาฯ 2 ครั้ง
- คณะกรรมการมีความรู้ร้อยละ 85
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
2.1เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เข้าใจแนวทางการปฏิบัติงาน บทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจนการร่วมเป็นคณะกรรมการ ตามประกาศฉบับใหม่ พ.ศ. 2557
ตัวชี้วัด : เกิดกองทุนที่มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส และเป็นธรรม
จำนวน 1กองทุน ในเขต12สงขลา
2
2.2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการกองทุน คณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจในการวางแผนยุทธศาสตร์ การกลั่นกรอง แนวทางการดำเนินงาน ก่อนที่จะอนุมัติตลอดการติดตามประเมินผลโครงการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : เกิดศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ 1 กองทุนในอำเภอสะเดา
3
2.3 เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา และบริหารจัดการในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : เกิดศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ 1 กองทุนในอำเภอสะเดา
4
2.4 เพื่อบริหารจัดการกองทุนฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
ตัวชี้วัด : เกิดกองทุนที่มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส และเป็นธรรม
จำนวน 1กองทุน ในเขต12สงขลา
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
80
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เข้าใจแนวทางการปฏิบัติงาน บทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจนการร่วมเป็นคณะกรรมการ ตามประกาศฉบับใหม่ พ.ศ. 2557 (2) 2.2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการกองทุน คณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจในการวางแผนยุทธศาสตร์ การกลั่นกรอง แนวทางการดำเนินงาน ก่อนที่จะอนุมัติตลอดการติดตามประเมินผลโครงการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น (3) 2.3 เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา และบริหารจัดการในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (4) 2.4 เพื่อบริหารจัดการกองทุนฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกในปีงบประมาณ2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7889-4-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางผุสดี หมัดอาดำ,นางฝาหรีดะฮ์ มุเส็มสะเดา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกในปีงบประมาณ2560 ”
เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางผุสดี หมัดอาดำ,นางฝาหรีดะฮ์ มุเส็มสะเดา
กันยายน 2560
ที่อยู่ เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7889-4-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกในปีงบประมาณ2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกในปีงบประมาณ2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกในปีงบประมาณ2560 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาล ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7889-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชนกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วงสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 13 (3)มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน รวมถึงสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร ดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ตามประกาศฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2557ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น กลุ่มชมรมหรือองค์กรประชาชนสนับสนุนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมี ส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ ดังนั้นกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลปริก เห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น กลุ่มชมรมหรือองค์กรประชาชนสนับสนุนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่การด้านการส่งเสริมและป้องกันโรค การรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุกการฟื้นฟูสภาพให้กับประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้นการบริหารจัดการกองทุนเป็นกลไกสำคัญในการที่จะเชื่อมโยงเข้าถึงการประสาน การทำงานให้คณะกรรมการบริหารกองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เข้าใจแนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจนบทบาทและหน้าที่ของตนเองในการร่วมเป็นคณะกรรมการการใช้โปรแกรมในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในการทำงานด้านบัญชี การดำเนินโครงการ กิจกรรม และการจัดการข้อมูลพื้นฐานส่งผลให้ดำเนินการการบริหารจัดการงานอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไปจึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 2.1เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เข้าใจแนวทางการปฏิบัติงาน บทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจนการร่วมเป็นคณะกรรมการ ตามประกาศฉบับใหม่ พ.ศ. 2557
- 2.2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการกองทุน คณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจในการวางแผนยุทธศาสตร์ การกลั่นกรอง แนวทางการดำเนินงาน ก่อนที่จะอนุมัติตลอดการติดตามประเมินผลโครงการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
- 2.3 เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา และบริหารจัดการในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
- 2.4 เพื่อบริหารจัดการกองทุนฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 80 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๙.1 คณะกรรมการบริหารฯอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ เข้าใจวัตถุประสงค์ แนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจนบทบาทและหน้าที่ของตนเองในการร่วมเป็นคณะกรรมการตามประกาศฉบับใหม่ พ.ศ. 2557และการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
๙.2 คณะกรรมการบริหารฯและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ คณะทำงาน มีความรู้ ความเข้าใจ
ในการอนุมัติ การกลั่นกรองโครงการ แนวทางการดำเนินงาน ติดตามโครงการกิจรรม เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ถูกต้องตามหลักเกณฑ์
๙.3 คณะกรรมการบริหารฯอนุกรรมการฝ่ายต่างๆเกิดการพัฒนาศักยภาพตนเอง แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา และบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
๙.4 กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เกิดการบริหารจัดการอย่าง
มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส เป็นธรรมตามหลักธรรมาภิบาล มากยิ่งขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะอนุกรรมการวางแผนยุธศาสตร์ ครั้งที่ 1/60 |
||
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำทางเลขานุการกองทุนฯได้เสนอแผนโครงการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ปี 2560 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับการอนุมัติแผนโครงการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ปี 2560 จากคณะอนุกรรมการวางแผนยุทธศาสตร์กองทุนฯ
|
9 | 9 |
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการวางแผนยุทธศาสตร์ ครั้งที่ 1/60 |
||
วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับการอนุมัติในการพิจารณาแผนโครงการกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ปี 2560 จากคณะอนุกรรมการวางแผนยุทธศาสตร์
|
9 | 9 |
3. ประชุมคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการต่างๆ ครั้งที่ 1/60 |
||
วันที่ 28 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเลขานุการกองทุนฯได้ทำการเสนอผลการดำเนินงานโครงการทั้งหมดในปี 2559 ต่อคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ
|
52 | 29 |
4. ติดตั้งโปรแกรม Antivirus เพื่อใช้ในในงานจัดทำเอกสารกองทุนฯ |
||
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ทำการติดตั้งโปรแกรม Antivirus เพื่อใช้ในในงานจัดทำเอกสารกองทุนฯ
|
1 | 0 |
5. ค่าติดตั้งโปรแกรมคอมฯและค่า USB WIRELESS TP-LINK |
||
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ทำการติดตั้งโปรแกรมคอมฯและค่า USB WIRELESS TP-LINK
|
1 | 0 |
6. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการต่างๆ ครั้งที่ 1/60 |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการต่างๆครบตามจำนวน
|
80 | 0 |
7. ประชุมคณะทำงานกองทุนเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง |
||
วันที่ 2 ธันวาคม 2559 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทำการประชุมคณะทำงานกองทุนเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เพื่อพิจารณาแผนการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
|
17 | 17 |
8. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะทำงานกองทุนฯเพื่อการดูแลผู้สูงอายุทีมีภาวะพึ่งพิง ครั้งที่ 1/60 |
||
วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะทำงานกองทุนฯเพื่อการดูแลผู้สูงอายุทีมีภาวะพึ่งพิงครบตามจำนวน
|
17 | 17 |
9. อบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ |
||
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ มีความรู้ความเข้าใจในการทำงานและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆและสามารถบริหารงานกองทุนฯเป็นไปในทิศทางเดียวกันและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
|
80 | 80 |
10. ค่าอาหารว่าง/อาหารกลางวันและเครื่องดื่ม |
||
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการต่างๆมีความรู้ความเข้าใจในการทำงานและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู็ประสบการณ์เพื่อให้งานการบริหารกองทุนฯเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
|
80 | 80 |
11. ค่าจ้างเขียนป้ายอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆกองทุนฯ |
||
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการต่างๆมีความรู้ความเข้าใจในการทำงานและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู็ประสบการณ์เพื่อให้งานการบริหารกองทุนฯเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
|
1 | 80 |
12. ค่าติดตั้ง USB ลำโพง |
||
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาแผนงาน
|
1 | 0 |
13. ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/60 |
||
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการต่างๆมีความรู้ความเข้าใจในการทำงานและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู็ประสบการณ์เพื่อให้งานการบริหารกองทุนฯเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
|
9 | 9 |
14. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/60 |
||
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอนุมัติโครงการ
|
9 | 9 |
15. ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการLTC ครั้งที่ 1/60 |
||
วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมติที่ประชุมเห็นชอบอนุมัติโครงการและแผนการดุแลพยาบาล Care Plan
|
28 | 28 |
16. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มประชุมคณะอนุ LTC ครั้งที่1/60 |
||
วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอนุมัติ Care Plan
|
11 | 11 |
17. ค่าอาหารว่าง/อาหารกลางวันและเครื่องดื่มประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 1/60 |
||
วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอนุมัติ โครงการ
|
17 | 17 |
18. ประชุมคณะทำงานสำนักเลขานุการ ครั้งที่ 1/60 |
||
วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอนุมัติเห็นชอบคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ ฉบับเพิ่มเติม
|
6 | 6 |
19. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะทำงานสำนักเลขานุการ ครั้งที่ 1/60 |
||
วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอนุมัติเห็นชอบคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ ฉบับเพิ่มเติม
|
6 | 6 |
20. จัดซื้อวัสดุสำนักงาน |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอนุมัติโครงการ
|
1 | 9 |
21. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/60 |
||
วันที่ 17 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอนุมัติโครงการ
|
9 | 9 |
22. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/60 |
||
วันที่ 17 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอนุมัติโครงการ
|
9 | 9 |
23. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 3/60 |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอนุมัติโครงการ
|
17 | 17 |
24. ประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 3/60 |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอนุมัติโครงการ
|
17 | 17 |
25. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/60 |
||
วันที่ 22 มิถุนายน 2560 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอนุมัติ แผนการดูแลพยาบาล Care Plan
|
11 | 11 |
26. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/60 |
||
วันที่ 22 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอนุมัติแผนการดูแลพยาบาล Care Plan
|
11 | 11 |
27. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 4/60 |
||
วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอนุมัติโครงการ
|
17 | 17 |
28. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3/60 |
||
วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณากลั่นกรองโครงการ
|
9 | 9 |
29. ประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 4/60 |
||
วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอนุมัติโครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ปี 2560
|
17 | 17 |
30. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการกองทุนฯ ครั้งที่ 3/60 |
||
วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาอนุมัติโครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ปี 2560
|
9 | 9 |
31. ประชุมคณะทำงานสำนักเลขานุการ ครั้งที่ 2/60 |
||
วันที่ 14 กันยายน 2560 เวลา 09.00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาโครงการบริหารจัดการกองทุนฯและแผนงบประมาณรายจ่ายปี 2561
|
6 | 6 |
32. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะทำงานสำนักเลขานุการ ครั้งที่ 2/60 |
||
วันที่ 14 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาโครงการงบบริหารกองทุนฯและแผนงบประมาณการเงินปี 2561
|
6 | 6 |
33. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1/60 |
||
วันที่ 14 กันยายน 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชุมวางแผนติดตามประเมินผลโครงการ ปี 2560
|
11 | 11 |
34. ประชุมคณะอนุกรรมการติดตามประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1/60 |
||
วันที่ 14 กันยายน 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชุมวางแผนติดตามประเมินผลโครงการ ปี 2560
|
11 | 11 |
35. ประชุมคณะอนุกรรมการวางแผนยุธศาสตร์ ครั้งที่ 2/60 |
||
วันที่ 15 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาแผนงานโครงการกองทุนฯประจำปีงบประมาณ 2561
|
9 | 9 |
36. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายแผนยุทธศาสตร์ ครั้งที่ 2/60 |
||
วันที่ 15 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาแผนงานโครงการกองทุนฯประจำปีงบประมาณ 2561
|
9 | 9 |
37. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 3/60 |
||
วันที่ 20 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาแผนการดูแลพยาบาลปี 2561
|
11 | 11 |
38. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 5/60 |
||
วันที่ 20 กันยายน 2560 เวลา 13.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาโครงการ แผน และแผนการดูแลพยาบาล ประจำปี 2561
|
17 | 17 |
39. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 3/60 |
||
วันที่ 20 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาแผนการดุแลพยาบาล ปี 2561
|
11 | 11 |
40. อาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 5/60 |
||
วันที่ 20 กันยายน 2560 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพิจารณาโครงการ แผน และแผนการดูแลพยาบาล ประจำปี 2561
|
17 | 17 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
การดำเนินโครงการบริหารกองทุนฯในปี 2560 มีการประชุมดังนี้
- ประชุมคณะกรรม
การบริหาร 5 ครั้ง
- ประชุมอนุกรรมการฝ่ายแผนฯ 2 ครั้ง
- ประชุมอนุกรรมการกลั่นกรอง 4 ครั้ง
- ประชุมอนุกรรมการติดตาม 1 ครั้ง
- ประชุมอนุกรรมการ LTC 3 ครั้ง
-ประชุมอนุกรรมการทำงานกองทุนฯ 1 ครั้ง
-ประชุมอนุกรรมการสำนักเลขาฯ 2 ครั้ง
- คณะกรรมการมีความรู้ร้อยละ 85
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 2.1เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เข้าใจแนวทางการปฏิบัติงาน บทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจนการร่วมเป็นคณะกรรมการ ตามประกาศฉบับใหม่ พ.ศ. 2557 ตัวชี้วัด : เกิดกองทุนที่มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส และเป็นธรรม จำนวน 1กองทุน ในเขต12สงขลา |
|
|||
2 | 2.2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการกองทุน คณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจในการวางแผนยุทธศาสตร์ การกลั่นกรอง แนวทางการดำเนินงาน ก่อนที่จะอนุมัติตลอดการติดตามประเมินผลโครงการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตัวชี้วัด : เกิดศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ 1 กองทุนในอำเภอสะเดา |
|
|||
3 | 2.3 เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา และบริหารจัดการในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตัวชี้วัด : เกิดศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ 1 กองทุนในอำเภอสะเดา |
|
|||
4 | 2.4 เพื่อบริหารจัดการกองทุนฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ ตัวชี้วัด : เกิดกองทุนที่มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง โปร่งใส และเป็นธรรม จำนวน 1กองทุน ในเขต12สงขลา |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 80 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนเข้าใจวัตถุประสงค์การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เข้าใจแนวทางการปฏิบัติงาน บทบาทและหน้าที่ของตนเองที่ชัดเจนการร่วมเป็นคณะกรรมการ ตามประกาศฉบับใหม่ พ.ศ. 2557 (2) 2.2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารและคณะอนุกรรมการกองทุน คณะทำงานมีความรู้ ความเข้าใจในการวางแผนยุทธศาสตร์ การกลั่นกรอง แนวทางการดำเนินงาน ก่อนที่จะอนุมัติตลอดการติดตามประเมินผลโครงการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น (3) 2.3 เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ เรียนรู้กรณีศึกษาต่างๆ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา และบริหารจัดการในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (4) 2.4 เพื่อบริหารจัดการกองทุนฯให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริกในปีงบประมาณ2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7889-4-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางผุสดี หมัดอาดำ,นางฝาหรีดะฮ์ มุเส็มสะเดา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......