กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรวมพล วันอาสาสมัครสาธารณสุข ปี 2560 ”
ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
ชมรม อสม. ตำบลปูโยะ




ชื่อโครงการ โครงการรวมพล วันอาสาสมัครสาธารณสุข ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2536-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพล วันอาสาสมัครสาธารณสุข ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพล วันอาสาสมัครสาธารณสุข ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพล วันอาสาสมัครสาธารณสุข ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2536-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูโยะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เป็นอาสาสมัครด้านสาธารณสุขภาพซึ่งควรเป็นคนต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพภาคประชาชน ถ้า อสม. เป็นตัวอย่างของผู้ที่มีสุขภาพดี มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม ก็จะส่งผลให้คนในชุมชนเห็นตัวอย่างที่ดี เชื่อมั่น เชื่อถือในตัว อสม. ก่อให้เกิดการให้ความร่วมมือในการกิจกรรม ช่วยผลักดันการดำเนินงานด้านสุขภาพในภาคประชาชน ต่อไป ดังนั้น กิจกรรมที่ส่งเสริม สนับสนุนให้อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ได้รับความรู้ ทักษะ ในด้านงานสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสุขภาพ รวมไปถึงการได้มีโอกาสตรวจสุขภาพ ตวจสมรรถภาพร่างกายของตัวเองได้ทราบถึงผลการตรวจร่างกายเบื้องต้น คำแนะนำการให้สุขศึกษาจากเจ้าหน้าที่อย่างถูกต้อง ตลอดจนได้แลกเปลี่ยนเรียรู้ซึ่งกันและกันในการดำเนินงานด้านสุขภาพภาคประชาชน กิจกรรมเหล่านี้ล้วนมีความสำคัญที่ทำให้ อสม. และทีมงานสุขภาพภาคประชาชนมีความเข้มแข็ง ซึ่งจะส่งผลต่อการทำงานด้านส่งเสริมสุขภาพภาคประชาชนให้ดียิ่งขึ้น ประชาชนได้รับความรู้ คำแนะนำ ได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เกิดเครือข่ายการดูแลสุขภาพภาคประชาชนที่เข้มแข็ง ต่อไป จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ชมรม อสม.ตำบลปูโยะ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลปูโยะ จึงได้จัดทำโครงการรวมพลวัน อสม.ตำบลปูโยะขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ อสม. ได้รับการตรวจสุขภาพและตรวจสมรรถภาพตนเอง
  2. เพื่อให้ อสม. มีความรู้ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ อสม. เป็นต้นแบบของการดูแลสุขภาพตนเองโดยภาคประชาชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 80
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    -เป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลงด้านการดูแลสุขภาพภาคประชาชน สามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้สู่ประชาชน -ประชาชนในชุมชนได้รับการดูแลสามารถป้องกันโรค สร้างเสริมสุขภาพตัวเอง ครอบครัวได้ถูกต้อง เหมาะสม -ชมรม อสม. มีความเข้มแข็งและเป็นเอกภาพ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมเดินรณรงค์

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 เวลา 07:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -เป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลงด้านการดูแลสุขภาพภาคประชาชน สามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้สู่ประชาชน -ชมรม อสม. มีความเข้มแข็งและเป็นเอกภาพ

     

    80 80

    2. กิจกรรมรางวัลและเล่นกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 เวลา 07:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.กิจกรรมออกกำลังกายร่วมกัน 2.มอบประกาศนียบัตรแก่ อสม.ดีเด่น หรือทีม อสม.ที่มีผลงานดีเด่นสาขาต่างๆ อสม.สูงวัย

     

    80 80

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    -เป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลงด้านการดูแลสุขภาพภาคประชาชน สามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้สู่ประชาชน -ประชาชนในชุมชนได้รับการดูแลสามารถป้องกันโรค สร้างเสริมสุขภาพตัวเอง ครอบครัวได้ถูกต้อง เหมาะสม -ชมรม อสม. มีความเข้มแข็งและเป็นเอกภาพ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ อสม. ได้รับการตรวจสุขภาพและตรวจสมรรถภาพตนเอง
    ตัวชี้วัด : อสม. ได้รับการตรวจสุขภาพและตรวจสมรรถภาพตนเอง

     

    2 เพื่อให้ อสม. มีความรู้ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : อสม. มีความรู้ในการดูแลสุขภาพได้เพิ่มขึ้น

     

    3 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ อสม. เป็นต้นแบบของการดูแลสุขภาพตนเองโดยภาคประชาชน
    ตัวชี้วัด : อสม. เป็นต้นแบบในการดูแลสุขภาพตนเองและสามารถดูแลประชาชนในพื้นที่ได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 80
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ อสม. ได้รับการตรวจสุขภาพและตรวจสมรรถภาพตนเอง (2) เพื่อให้ อสม. มีความรู้ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ อสม. เป็นต้นแบบของการดูแลสุขภาพตนเองโดยภาคประชาชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรวมพล วันอาสาสมัครสาธารณสุข ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2536-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรม อสม. ตำบลปูโยะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด