กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการส่งเสริม เฝ้าระวัง ติดตามภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 รพ.สต.บ้านควน 1 ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางรีนา โต๊ะเจ๊ะผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม เฝ้าระวัง ติดตามภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 รพ.สต.บ้านควน 1

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5307-1-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริม เฝ้าระวัง ติดตามภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 รพ.สต.บ้านควน 1 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริม เฝ้าระวัง ติดตามภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 รพ.สต.บ้านควน 1



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริม เฝ้าระวัง ติดตามภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 รพ.สต.บ้านควน 1 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5307-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญคือปัญหาผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ และโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง นับวันจะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งโรคเรื้อรังดังกล่าว โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง และ โรคเบาหวานก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ มีการประมาณการทางสถิติว่า ทั่วโลกมีผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานประมาณ 125 ล้านคน และมีอัตราการเพิ่มของผู้ป่วยทุกปี และในการศึกษาสถานการณ์และธรรมชาติวิทยาของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากร พบว่าภาพรวมของประเทศ พบประชากรไทยมีแนวโน้มการตายและป่วยจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มสูงขึ้นใน 13 ปีขึ้นไป มากกว่าหนึ่งล้านเก้าแสนคน และมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของความชุกและจำนวนผู้เป็นเบาหวานสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากนั้นยังพบว่า เมื่ออายุสูงขึ้น มีโอกาสเป็นเบาหวานได้ง่าย เมื่อเป็นโรคเบาหวานระยะเวลาหนึ่งแล้วจะเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต หัวใจ ระบบประสาท แผลเรื้อรัง เป็นต้น
จากการดำเนินงานของแกนนำ อสม.ตำบลบ้านควน ออกคัดกรอง ค้นหา กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรังรพ.สต.ตำบลบ้านควน ได้จัดกิจกรรม ให้บริการแต่ละกลุ่มเป้าหมาย โดย กลุ่มเสี่ยง จะมีการติดตามเฝ้าระวังป้องกันไม่ให้กลายเป็นกลุ่มป่วย และ กลุ่มป่วยรายใหม่ ได้รับการส่งต่อพบเจ้าหน้าที่ โดย แกนนำ อสม.เพื่อดูแลให้ได้รับการวินิจฉัยและเข้าระบบคลินิกของ รพ.สต.ตำบลบ้านควนผู้ป่วยโรคเรื้อรังดังกล่าว จะต้องได้รับการติดตามการรักษา และ ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ที่อาจเกิดขึ้นได้ซึ่งปัจจุบัน รพ.สต.ตำบลบ้านควน มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับบริการที่ รพ.สต.ตำบลบ้านควน จำนวน 316 คน จากการรวบรวมข้อมูลพบว่า มีผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น จากปี 60 ดังนี้มีภาวะแทรกซ้อนทางเท้าจำนวน 4 ราย และภาวะแทรกซ้อนทางไต จำนวน 2 ราย ภาวะแทรกซ้อนทางตา จำนวน 3 ราย ดังนั้น รพ.สต.ตำบลบ้านควน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริม เฝ้าระวัง ติดตามภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังปี 2561 ขึ้นโดยมีการให้บริการติดตามภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่องเดือนละ 2 ครั้ง เพื่อแยกกลุ่มผู้ป่วย โซนสี เขียว(คุมได้ดี)เหลือง (รุนแรงน้อย) ส้ม(รุนแรงปานกลาง)แดง(รุนแรงมาก) ดำ (กลุ่มที่มีภาวะแทรกซ้อน)มีการจัดกิจกรรมกลุ่ม ให้ความรู้สำหรับกลุ่มป่วยดังกล่าว มีการค้นหา ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง ดูแลให้ผู้ที่มีปัญหาได้รับการส่งต่อพบแพทย์รวดเร็วที่สุดและมุ่งเน้นกิจกรรมการส่งเสริมให้ความรู้ เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความรู้ เกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง ให้ห่างไกลจากภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิต อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  2. 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น ได้รับการส่งต่อพบแพทย์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง อันตรายและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 3 รุ่น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 280
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิต ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
    1. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทุกคน
    2. ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น ได้รับการส่งต่อพบแพทย์คน
    3. ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น
    4. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการดูแลติดตามอย่างต่อเนื่องทุกคน
    5. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ สามารถเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของตนเองได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง อันตรายและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 3 รุ่น

วันที่ 14 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง อันตรายและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  3 รุ่น รุ่นที่ 1 จัด วันที่ 14,15,16 มีนาคม 2561 โดยการให้ความรู้และจัดกิจกรรมเป็นกลุ่มพร้อมแนะนำการใช้สมุดประจำตัวผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน  จำนวน 280 คน
แกนนำสุขภาพคลินิกโรคเรื้อรังเข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน  20  คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ ร้อยละ 25.04 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองค้นหาภาวะไตวายเรื้อรัง ร้อยละ 89 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ร้อยละ 100 สิ่งที่ได้เรียนรู้ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นโรคที่ต้องดูแล เฝ้าระวัง ภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง โดย เน้นพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ควบคุมกับการรับประทานยาที่ถูกต้อง อย่างสม่ำเสมอ พฤติกรรมสุขภาพที่ดี ส่งผลให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคลดลงได้ และพฤติกรรมสุขภาพที่ดีนั้น ต้องเริ่มจากการที่เรามีจิตสำนึกที่ดี แล้วสุขภาพที่ดีจะตามมา สิ่งที่ประทับใจ ประทับใจการทำงานร่วมกันของทีมสุขภาพ แพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ จาก รพ.สต.บ้านควน 2 แกนนำ อสม.คลินิกโรคเรื้อรัง ตลอดจน จนท.รพ.สต.บ้านควน 1 ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ในการดำเนินกิจกรรมทุกๆกิจกรรม ปัญหาอุปสรรค 1.ผู้ป่วยยังขาดความตระหนัก ใส่ใจในการดูแลสุขภาพที่ดีอย่างต่อเนื่อง 2.เครื่องมือในการทำงาน มีความพร้อมในบางครั้ง 3.ผู้รับบริการ ต้องการความรวดเร็วทันใจ ซึ่งบางครั้ง เจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอกับการให้บริการ แนวทางแก้ไข 1.ให้ความรู้ เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่ดี กระตุ้นการสร้างจิตสำนึกที่ดี 2.แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ร่วมกันกับทีมแกนนำ อสม.คลินิกโรคเรื้อรัง

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ ร้อยละ 25.04 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองค้นหาภาวะไตวายเรื้อรัง ร้อยละ 89
ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ร้อยละ 100 สิ่งที่ได้เรียนรู้ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นโรคที่ต้องดูแล เฝ้าระวัง ภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง โดย เน้นพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ควบคุมกับการรับประทานยาที่ถูกต้อง อย่างสม่ำเสมอ พฤติกรรมสุขภาพที่ดี ส่งผลให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคลดลงได้ และพฤติกรรมสุขภาพที่ดีนั้น ต้องเริ่มจากการที่เรามีจิตสำนึกที่ดี แล้วสุขภาพที่ดีจะตามมา
สิ่งที่ประทับใจ ประทับใจการทำงานร่วมกันของทีมสุขภาพ แพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ จาก รพ.สต.บ้านควน 2 แกนนำ อสม.คลินิกโรคเรื้อรัง ตลอดจน จนท.รพ.สต.บ้านควน 1 ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ในการดำเนินกิจกรรมทุกๆกิจกรรม
ปัญหาอุปสรรค 1.ผู้ป่วยยังขาดความตระหนัก ใส่ใจในการดูแลสุขภาพที่ดีอย่างต่อเนื่อง
2.เครื่องมือในการทำงาน มีความพร้อมในบางครั้ง
3.ผู้รับบริการ ต้องการความรวดเร็วทันใจ ซึ่งบางครั้ง เจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอกับการให้บริการ
แนวทางแก้ไข
1.ให้ความรู้ เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่ดี กระตุ้นการสร้างจิตสำนึกที่ดี
2.แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ร่วมกันกับทีมแกนนำ อสม.คลินิกโรคเรื้อรัง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิต อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : • ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี มากกว่าร้อยละ 40 (ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี หมายถึง ค่าระดับ HbA1C ครั้งสุดท้ายน้อยกว่าร้อยละ 7 )
40.00 25.04

ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ ร้อยละ 25.04

2 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : • ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี มากกว่าร้อยละ 60 (ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตสูงได้ดีหมายถึง มีระดับความดันโลหิต 2 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน
60.00 89.00

ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองค้นหาภาวะไตวายเรื้อรัง ร้อยละ 89

3 เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น ได้รับการส่งต่อพบแพทย์
ตัวชี้วัด : • ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อน ต้องได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ร้อยละ 100
100.00 100.00

ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ร้อยละ 100

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 280
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 280
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิต อยู่ในเกณฑ์ปกติ (2)        2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (3) เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น ได้รับการส่งต่อพบแพทย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง อันตรายและการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง  3 รุ่น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม เฝ้าระวัง ติดตามภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 รพ.สต.บ้านควน 1

รหัสโครงการ 61-L5307-1-14 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริม เฝ้าระวัง ติดตามภาวะสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2561 รพ.สต.บ้านควน 1 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5307-1-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรีนา โต๊ะเจ๊ะผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน 1 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด