กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา


“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกายในผู้สูงอายุ ”

ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสมพงศ์ รัตนพันธ์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกายในผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3013-03-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกายในผู้สูงอายุ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกายในผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกายในผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3013-03-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 94,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสำรวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย พบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ 2 อยู่ในสภาวะ “ติดเตียง”คืออยู่ในสภาพพิการไม่สามารถช่วยตัวเองได้ และร้อยละ 19 “ติดบ้าน” คือ มีปัญหาการเคลื่อนไหว ไม่สามารถออกจากบ้านได้โดยสะดวก ทำให้ไม่มีความสุข ท้อแท้ รู้สึกไร้ค่า และการเปลี่ยน แปลงในทางเสื่อมลงเหล่านี้อาจทำให้ผู้สูงอายุเกิดภาวะซึมเศร้า ภาวะซึมเศร้าจึงเป็นปัญหาสุขภาพจิตที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังพบว่า ผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 5 กิจกรรม ได้แก่ 1) ออกกําลังกาย 2) รับประทานผักสดและผลไม้สด 3) ดื่มนํ้าสะอาดวันละ 8 แก้วหรือมากกว่า 4) ไม่ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ 5) สูบบุหรี่ มีเพียงร้อยละ 18.7 เท่านั้น ทั้งนี้การออกกําลังกายสมํ่าเสมอเป็นพฤติกรรมที่พบตํ่าที่สุด ชมรมผู้สูงอายุตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี มีสมาชิกผู้สูงอายุทั้งหมด .............. คน จากการสำรวจสภาวะสุขภาพโดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ พบว่า เป็นผู้สูงอายุติดเตียง …30.... คน ติดบ้าน ............. คน ซึ่งมีปัญหาสุขภาพวิตกกังวลสูง เกิดมีภาวะซึมเศร้า ประกอบกับผู้สูงอายุติดสังคมที่ยังใช้ชีวิตตามปกติ ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยออกกำลังกาย การออกกำลังกายอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอจะสามารถป้องกันและแก้ไขภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้นได้ โดยเฉพาะโรคหัวใจ และหลอดเลือด โรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูกปัญหาสุขภาพร่างกาย รวมทั้งปัญหาสุขภาพจิต ช่วยให้อายุยืนยาวขึ้น และมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง อย่างไรก็ตาม การออกกำลังกายนี้จำเป็นต้องจัดให้เหมาะสมกับสภาพร่างกาย เช่น เพศ และความแข็งแรงที่มีอยู่ เนื่องจากการออกกำลังกายมากเกินไป หรือหักโหมจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายได้ การออกกำลังกายเป็นประจำจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้สูงอายุ เพราะนอกจากจะช่วยป้องกันการเสื่อมโทรมของร่างกายแล้วยังสามารถแก้ไขความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นแล้วได้ด้วยการออกกำลังกาย ชมรมผู้สูงอายุตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมให้สมาชิกในชมรมผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตใจที่ดี ไม่ให้เป็นภาระแก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมต่อไป จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกาย เป็นการลดเสี่ยงโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุขึ้น โดยมีแนวคิดให้ความรู้การออกกำลังกายในภาพรวม จัดให้มีแกนนำผู้สูงอายุ ติดตามกระตุ้นให้ ผู้สูงอายุออกกำลังกาย เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือน เพื่อให้มีพฤติกรรมต่อเนื่องเป็นนิสัย เกิดความยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการออกกำลังกายแก่ผู้สูงอายุ
  2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ชมรมผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการประชุมประจำเดือนของชมรมผู้สูงอายุ
  2. กิจกรรมอบรมอาสาสมัครแกนนำผู้สูงอายุ เพื่อทำหน้าที่กระตุ้น / ชักจูงและติดตามผู้สูงอายุให้ออกกำลังกาย หรือเคลื่อนไหวร่างกาย
  3. กิจกรรมออกกำลังกายทุกวันเสาร์
  4. กิจกรรมถีบจักรยานตะเวนไปเยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง
  5. กิจกรรมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข
  2. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของชมรมผู้สูงอายุ
  3. ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง และผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการประชุมประจำเดือนของชมรมผู้สูงอายุ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

25 0

2. กิจกรรมออกกำลังกายทุกวันเสาร์

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

50 0

3. กิจกรรมถีบจักรยานตะเวนไปเยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง

วันที่ 3 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

20 0

4. กิจกรรมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง

วันที่ 30 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

30 0

5. กิจกรรมอบรมอาสาสมัครแกนนำผู้สูงอายุ เพื่อทำหน้าที่กระตุ้น / ชักจูงและติดตามผู้สูงอายุให้ออกกำลังกาย หรือเคลื่อนไหวร่างกาย

วันที่ 15 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

33 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการออกกำลังกายแก่ผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 1. มีอาสาสมัครแกนนำผู้สูงอายุ อย่างน้อย 33 คน เพื่อทำหน้าที่กระตุ้น/ชักจูงและติดตามผู้สูงอายุให้ออกกำลังกาย หรือมีการเคลื่อนไหว 2. ผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มออกกำลังกายเป็นประจำทุกวันเสาร์ 3. ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมถีบจักรยานตะเวนไปเยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ชมรมผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียงทุกคนได้รับการดูแลสุขภาพจากชมรมผู้สูงอายุ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการออกกำลังกายแก่ผู้สูงอายุ  (2) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ชมรมผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการประชุมประจำเดือนของชมรมผู้สูงอายุ (2) กิจกรรมอบรมอาสาสมัครแกนนำผู้สูงอายุ เพื่อทำหน้าที่กระตุ้น / ชักจูงและติดตามผู้สูงอายุให้ออกกำลังกาย หรือเคลื่อนไหวร่างกาย  (3) กิจกรรมออกกำลังกายทุกวันเสาร์  (4) กิจกรรมถีบจักรยานตะเวนไปเยี่ยมผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง (5) กิจกรรมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกายในผู้สูงอายุ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 61-L3013-03-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมพงศ์ รัตนพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด