โครงการจัดการขยะในครัวเรือนชุมชนปลอดขยะชุมชนปลอดโรคบ้านกูแบอีเตะ(กสค. ปี2)หมู่ที่ 10
ชื่อโครงการ | โครงการจัดการขยะในครัวเรือนชุมชนปลอดขยะชุมชนปลอดโรคบ้านกูแบอีเตะ(กสค. ปี2)หมู่ที่ 10 |
รหัสโครงการ | 61-L3013-02-16 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ประธานกสค. ปี2หมู่ที่ 10 |
วันที่อนุมัติ | 7 กุมภาพันธ์ 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 มีนาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 28 กันยายน 2561 |
งบประมาณ | 22,400.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวซูไรดา แวอาลี |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอับดุลกอเดร์ การีนา |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.866,101.289place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 3 มี.ค. 2561 | 28 ก.ย. 2561 | 22,400.00 | |||
รวมงบประมาณ | 22,400.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 80 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยชุมชนบ้านกูแบอีเตะปัจจุบัน อยู่ที่ประมาณวันละไม่น้อยกว่า 100 กิโลกรัม และคาดว่าจะมีปริมาณเพิ่มเรื่อยๆ(ข้อมูลจากอบต.บานา) เนื่องจากมีประชาชนอาศัยเพิ่มมากขึ้น มีการปลูกที่อยู่อาศัยเพิ่มมากขึ้น มีร้านค้าจำหน่ายอาหารเพิ่มขึ้น ประชาชนในชุมชน จากเดิมที่เคยปรุงอาหารรับประทานเอง หันมาซื้ออาหารสำเร็จรูปมากขึ้น เพื่อความสะดวกรวดเร็ว และประหยัดเวลาเพราะเร่งรีบในการประกอบอาชีพ เช่น ข้าราชการ เกษตรกร รับจ้าง เป็นต้น จึงส่งผลให้มีปริมาณขยะมากขึ้น บางบ้านยังใช้วิธีกำจัดและจัดการแบบเดิมๆ ด้วยการเทกองไว้กลางแจ้ง ฝังกลบ หรือใช้วิธีเผาทำลาย ทำให้เกิดควันลอยในอากาศ เป็นการเพิ่มภาวะโลกร้อน และ ของเหลือทิ้งจำพวกเศษอาหารที่เหลือจากการปรุงอาหารและการบริโภค รวมทั้งเศษอาหาร พลาสติก และสารพิษจากขยะได้แพร่กระจายลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติมากขึ้นและของที่ไม่ใช้แล้ว ขยะมูลฝอยที่ถูกทิ้งอยู่ตามถนน แม่น้ำ ลำคลอง ที่สาธารณะต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นใบไม้ เศษกระดาษ ถุงพลาสติก เศษดิน เป็นต้น ซึ่งมูลฝอยเหล่านี้หากไม่กำจัดและมีการจัดการอย่างถูกวิธี นอกจากจะทำให้ชุมชนขาดความสะอาดเรียบร้อย จนเป็นที่น่ารังเกียจแล้ว ยังทำให้เกิดปัญหามลพิษต่อสภาพแวดล้อมอย่างมากมาย เช่น การปนเปื้อนของแหล่งน้ำและการปนเปื้อนของอากาศ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์และแพร่กระจายของเชื้อโรค ที่ก่อปัญหาด้านสุขภาพอนามัย ในการนี้ กลุ่มกสค. หมู่ที่10จึงได้จัดทำโครงการจัดการขยะในครัวเรือนชุมชนปลอดขยะชุมชนปลอดโรคบ้านกูแบอีเตะขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีอันจะเป็นแนวทางในการสร้างชุมชนเข้มแข็งต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ชุมชนมีพฤติกรรมการจัดการขยะที่ยั่งยืน
|
0.00 | |
2 | เพื่อให้ประชาชนมีการจัดการขยะให้ครอบคลุมทุกพื้นที่เป้าหมายเพื่อลดภาวะเสี่ยงของการเกิดโรคจากมลภาวะของขยะ
|
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 17,405.00 | 4 | 22,400.00 | -4,995.00 | |
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และรับสมัครผู้สมัครใจเข้าร่วมโครงการ | 0 | 3,000.00 | ✔ | 3,000.00 | 0.00 | ||
ให้ความรู้เรื่องกระบวนการจัดการขยะอย่างครบวงจร ตั้งแต่ การลด การตัดแยก การจัดเก็บ การกำจัด และการใช้ประโยชน์ | 0 | 12,450.00 | ✔ | 12,450.00 | 0.00 | ||
กิจกรรมวันทำความสะอาดของชุมชน | 0 | 5.00 | ✔ | 5,000.00 | -4,995.00 | ||
จัดตั้งและประชุมคณะทำงานเพื่อบริหารจัดการขยะแบบยั่งยืน | 0 | 1,950.00 | ✔ | 1,950.00 | 0.00 | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 17,405.00 | 4 | 22,400.00 | -4,995.00 |
-
- เปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และรับสมัครผู้สมัครใจเข้าร่วมโครงการ
- 2.การจัดทำข้อมูลสถานการณ์ขยะประเภทต่างๆของชุมชน
- 3.ให้ความรู้เรื่องกระบวนการจัดการขยะอย่างครบวงจร ตั้งแต่ การลด การตัดแยก การจัดเก็บ การกำจัด และการใช้ประโยชน์
- 4.การจัดการขยะและพัฒนาสิ่งแวดล้อม
- 5.กิจกรรมวันทำความสะอาดของชุมชน
- 6.จัดตั้งและประชุมคณะทำงานเพื่อบริหารจัดการขยะแบบยั่งยืน 7.การขยายเครือข่ายครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะที่ยั่งยืน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการถอดบทเรียน
1.ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี
2.ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันการเกิดโรคและความรุนแรงของโรค
3.ลดปริมาณขยะในชุมชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.พ. 2561 14:02 น.