กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกำจัดและป้องกันเหาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้วยสมุนไพร
รหัสโครงการ 61-L5221-2-20
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน
วันที่อนุมัติ 21 พฤษภาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 20,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาคร บุญนำ
พี่เลี้ยงโครงการ รพ.สต.ท่าบอน
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.842,100.342place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2561 30 มิ.ย. 2561 6,600.00
2 1 ก.ค. 2561 31 ส.ค. 2561 13,350.00
3 1 ส.ค. 2561 30 ก.ย. 2561 150.00
รวมงบประมาณ 20,100.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 198 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเหา เป็นโรคที่พบบ่อยมากในเด็กนักเรียนอนุบาล ประถมศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนหญิง เกิดจากความไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย เครื่องนอน ซึ่งเป็นโรคที่น่ารังเกียจสำหรับคนทั่วไป และยังทำให้สุขภาพไม่ดี เสียสมาธิในการเรียน ก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็น เนื่องจากคันหนังศีรษะ จากสำรวจสุขภาพ 10 ท่า ของนักเรียนหญิง จำนวน 292 คน จาก 5 โรงเรียน 4 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้แก่ โรงเรียนท่าบอนมิตรภาพที่ 90 โรงเรียนบ้านมาบบัว โรงเรียนวัดคลองเป็ด โรงเรียนบ้านศาลาหลวงบน โรงเรียนวัดศาลาหลวงล่าง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กท่าบอน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมาบบัว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศาลาหลวงบน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศาลาหลวงล่าง พบว่าเหาเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของเด็กวัยเรียน
ด้วยเหตุนี้ชมรมส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน จึงได้จัดทำโครงการกำจัดและป้องกันเหาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้วยสมุนไพรขึ้น โดยใช้สมุนพรได้แก่ ใบน้อยหน่า รากกะเพียด และใบยาสูบ ซึ่งสามารถกำจัดเหาได้ดี โดยไม่เป็นอันตรายและไม่มีอาการแพ้เหมือนใช้สารเคมี มาใช้ในการกำจัดเหา และอีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้ผู้ปกครองและนักเรียนได้รู้จักใช้ภูมิปัญญาและสมุนไพรท้องถิ่น ในการรักษาเด็กที่เป็นเหาและป้องกันโรคเหาลดการระบาดต่อไปรำคาญกับผู้ที่เป็น เนื่องจากคันหนังศีรษะ จากสำรวจสุขภาพ 10 ท่า ของนักเรียนหญิง จำนวน 292 คน จาก 5 โรงเรียน 4 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้แก่ โรงเรียนท่าบอนมิตรภาพที่ 90 โรงเรียนบ้านมาบบัว โรงเรียนวัดคลองเป็ด โรงเรียนบ้านศาลาหลวงบน โรงเรียนวัดศาลาหลวงล่าง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กท่าบอน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมาบบัว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศาลาหลวงบน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศาลาหลวงล่าง พบว่าเหาเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของเด็กวัยเรียน
ด้วยเหตุนี้ชมรมส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน จึงได้จัดทำโครงการกำจัดและป้องกันเหาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้วยสมุนไพรขึ้น โดยใช้สมุนพรได้แก่ ใบน้อยหน่า รากกะเพียด และใบยาสูบ ซึ่งสามารถกำจัดเหาได้ดี โดยไม่เป็นอันตรายและไม่มีอาการแพ้เหมือนใช้สารเคมี มาใช้ในการกำจัดเหา และอีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้ผู้ปกครองและนักเรียนได้รู้จักใช้ภูมิปัญญาและสมุนไพรท้องถิ่น ในการรักษาเด็กที่เป็นเหาและป้องกันโรคเหาลดการระบาดต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดอัตราการเกิดเหาในเด็กนักเรียน

ลดอัตราการเกิดเหาในเด็กนักเรียน ร้อยละ 70

0.00
2 2. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในพื้นที่

เด็กนักเรียนไม่กลับมาเป็นเหาซ้ำ ร้อยละ 50

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 182.00 0 0.00
1.ทำน้ำยากำจัดเหา โดยการนำตัวยาทั้งหมดมาหมักทิ้งไว้ 1 เดือน 0 6.00 -
2 อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนในโรงเรียน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและผู้ปกครอง โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 0 5.00 -
3 ดำเนินการกำจัดเหาแก่เด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย 0 21.00 -
สรุปและประเมินผลโครงการ 0 150.00 -

ขั้นเตรียมการ 1. จัดทำโครงการเสนอเพื่อขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน 2. ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง 3. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์เอกสาร สื่อ ที่ใช้ในการดำเนินงานตามโครงการ 4. วางแผนปฏิบัติงาน 5. คัดกลุ่มเป้าหมายที่เป็นเหา เพื่อรับการกำจัดเหา 6. ทำน้ำยากำจัดเหา โดยการนำตัวยาทั้งหมดมาหมักทิ้งไว้ 1 เดือน ขั้นดำเนินการ 1. อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนในโรงเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและผู้ปกครอง โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 2. ดำเนินการกำจัดเหาแก่เด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย
3. แจกน้ำยากำจัดเหาคนละ 1 ขวดเพื่อไปกำจัดเหาต่อเนื่องที่บ้าน ขั้นสรุปผลโครงการ 1. ติดตามผลโดยผู้ดูแลเด็ก สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 1 เดือน
2. ติดตามผลโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 3. สรุปและประเมินผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กนักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ในการใช้สมุนไพรกำจัดเหา และสามารถทำน้ำยากำจัดเหาใช้เองได้ สามารถลดอัตราการเกิดเหาและการกลับมาเป็นเหาซ้ำในเด็กนักเรียน ช่วยเพิ่มสมาธิในการเรียนของเด็กนักเรียนมากขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 ก.พ. 2561 11:57 น.