กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางวิภาวรรณ จันสง เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน รพ.สต.บ้านต้นไทร




ชื่อโครงการ โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2561 ถึง 20 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2561 - 20 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,712.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สายใยรักแห่งครอบครัวก่อเกิดจากการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เกิดสายใยผูกพันในครัวเรือน ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการดี ต้องอาศัยความร่วมมือจากบริการสู่ชุมชน การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัว การตั้งครรภ์ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งในด้านกายวิภาค ชีวเคมี และสรีรวิทยาการ เปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัวอย่างมากมายกับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆของร่างกายที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม เพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และเตรียม ความพร้อมสำหรับการคลอด นอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมเช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์ สัมพันธภาพกับครอบครัว เป็นต้น เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย โดยมีกลวิธีที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ได้แก่ การให้บริการตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์และขณะตั้งครรภ์ การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอด การประเมินภาวะเสี่ยงของมารดาขณะตั้งครรภ์จะสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาทั้งที่จะเกิดแก่มารดาและทารกได้ ปัจจัยด้านอายุมารดาที่อายุน้อยและมารดาที่อายุมากมีผลต่อการตั้งครรภ์และการคลอดทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม เช่น การคลอดก่อนกำหนด วิธีการคลอด น้ำหนักทารกแรกเกิด และการตายของมารดาและทารกปริกำเนิด ปัญหาการตั้งครรภ์เหล่านี้เป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ในช่วงอายุที่ไม่เหมาะสม ภาวะเสี่ยงต่างๆขณะตั้งครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ การดูแลสุขภาพตนเองขณะตั้งครรภ์ ทั้งในเรื่องการรับบริการฝากครรภ์ที่ครบตามเกณฑ์ ด้านโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การออกกำลังกาย และ การพักผ่อนเพื่อผ่อนคลาย รวมไปถึงการดูแลสุขภาพจิตใจและการปรับตัวเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กอายุ ๐-๖ ปีและแกนนำ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ การนำเด็กรับวัคซีนและการดูแลเด็กอายุ ๐-๖ ปีได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้เด็กอายุ ๐-๖ ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ และมีภาวะโภชนาการสมส่วนตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. รณรงค์ให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ ๔ ครั้งตามเกณฑ์ ๒. มารดาและทารกหลังคลอด ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ๓. เด็กอายุ ๐ – ๖ ปีได้รับการเฝ้าระวังการภาวะโภชนาการและมีการเจริญเติบโตสมส่วนตามวัยและรับวัคซีนตามเกณฑ์


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.อบรมผู้ดูแลเด็กอายุ 0 – 6 ปี เรื่อง “รณรงค์การดูแลตนเองในระหว่างตั้งครรภ์และการดูแลมารดาระยะก่อนคลอดและระยะหลังคลอด” เรื่อง “การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการติดตามกระตุ้นพัฒนาการในเด็กอายุ        0 – 6 ปี” และติดตามกลุ่มเป้าหมายแต่ละหมู่บ้าน ดังนี้
    หมู่ที่ 2 จำนวน  27 คน หมู่ที่ 4 จำนวน  36 คน หมู่ที่ 5 จำนวน  29 คน หมู่ที่ 7 จำนวน  47 คน หมู่ที่ 8 จำนวน  15 คน หมู่ที่ 9 จำนวน  22 คน หมู่ที่ 11 จำนวน 25  คน
    รวมกลุ่มเป้าหมายจำนวน 201 คน มีผู้เข้าอบรม จำนวน 226 คน 2. ติดตามหญิงตั้งครรภ์ รณรงค์ให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ หญิงตั้งครรภ์ปี 2561  จำนวน 33 คน ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ จำนวน 31 คน ฝากครรภ์ครบ 4 ครั้งจำนวน 2 คน จำนวนหญิงคลอดในปี 2661 จำนวน 25 คน 3. ติดตามการครอบคลุมเด็กอายุ 0 – 6 ปี จำนวน 201 คน ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ทุกคน 4. ติดตามภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุ 0 – 6 จำนวน 201 คน ได้รับการประเมินและติดตาม ภาวะโภชนาการทุกคน 5. ติดตามพัฒนาการเด็กอายุ 0 – 6 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการจำนวน 201 คน พบเด็กมีภาวะพัฒนาการล่าช้าจำนวน 6 คน ได้รับการแนะนำและส่งต่อจำนวน 6 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กอายุ ๐-๖ ปีและแกนนำ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ การนำเด็กรับวัคซีนและการดูแลเด็กอายุ ๐-๖ ปีได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลเด็กอายุ ๐-๖ ปีและแกนนำ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ การนำเด็กรับวัคซีนและการดูแลเด็กอายุ ๐-๖ ปีได้อย่างถูกต้อง
    204.00 226.00

     

    2 เพื่อให้เด็กอายุ ๐-๖ ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ และมีภาวะโภชนาการสมส่วนตามวัย
    ตัวชี้วัด : เด็กอายุ ๐-๖ ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ และมีภาวะโภชนาการสมส่วนตามวัย
    201.00 226.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กอายุ ๐-๖ ปีและแกนนำ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ การนำเด็กรับวัคซีนและการดูแลเด็กอายุ ๐-๖ ปีได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้เด็กอายุ ๐-๖ ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ และมีภาวะโภชนาการสมส่วนตามวัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวิภาวรรณ จันสง เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน รพ.สต.บ้านต้นไทร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด