กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ชีวีปลอดโรค
รหัสโครงการ 61-50109-2-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มเพื่อชีวิตที่ปลอดภัยห่างไกลจากสารเคมีทางเกษตร
วันที่อนุมัติ 23 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 22,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มเพื่อชีวิตที่ปลอดภัยห่างไกลจากสารเคมีทางเกษตร
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.786,101.482place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.พ. 2561 22,000.00
รวมงบประมาณ 22,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประชาชนตำบลดอนส่วนใหญ่มีอาชีพหลักเป็นเกษตรกร ทำนาปลูกข้าวในการทำนาแต่ละครั้งก็ใช้ต้นทุนสูงมาก เพราะจะใช้ปุ๋ยซึ่งเป็นปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง เพื่อปราบศัตรูพืช ตลอดจนสารเพิ่มผลผลิต ปริมาณมากขึ้นทุกปี แต่ผลผลิตที่จำหน่ายสู่ตลาดมีราคาตกต่ำ เกษตรกรประสบปัญหาต่อเนื่องมาตลอดและยังส่งผลไปถึงชุมชนทำให้คนเจ็บป่วยมากขึ้น เพราะสภาพแวดล้อมทั่วไปทุกวันนี้ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรดิน น้ำ สิ่งแวดล้อมทั้งหลายส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่สะสมสารพิษตกค้าง ส่งผลกระทบทำให้คนที่อยู่ในชุมชนรับประทานอาหารเข้าไปทำให้สะสมในร่างกาย มีคนเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ทำให้ประชาชนชาวตำบลดอนประสบปัญหาสุขภาวะด้านร่างกายมากที่สุดคือเบาหวาน 100รายความดันโลหิตสูง300 รายจากสถานการณ์ดังกล่าว กลุ่มเพื่อชีวิตที่ปลอดภัยห่างไกลจากสารเคมีทางการเกษตร จึงได้ร่วมกันเสนอการทำโครงการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ชีวีปลอดโรค โดยใช้ปุ๋ยคอกปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ เป็นพื้นฐานการปลูกพืชผัก โดยลดการใช้สารเคมี ยาฆ่าแมลงต่าง ๆ เพื่อให้คนในชุมชนตำบลดอน ได้มีพืชผัก อาหารปลอดสารพิษไว้กินเอง เป็นการสร้างระบบเกษตรกรรมปลอดสารพิษ และสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี บนพื้นฐานการเกษตรอินทรีย์ นำไปสู่ครอบครัวชุมชนอยู่ดีมีสุขตลอดไปประชาชนตำบลดอนส่วนใหญ่มีอาชีพหลักเป็นเกษตรกร ทำนาปลูกข้าวในการทำนาแต่ละครั้งก็ใช้ต้นทุนสูงมาก เพราะจะใช้ปุ๋ยซึ่งเป็นปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง เพื่อปราบศัตรูพืช ตลอดจนสารเพิ่มผลผลิต ปริมาณมากขึ้นทุกปี แต่ผลผลิตที่จำหน่ายสู่ตลาดมีราคาตกต่ำ เกษตรกรประสบปัญหาต่อเนื่องมาตลอดและยังส่งผลไปถึงชุมชนทำให้คนเจ็บป่วยมากขึ้น เพราะสภาพแวดล้อมทั่วไปทุกวันนี้ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรดิน น้ำ สิ่งแวดล้อมทั้งหลายส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่สะสมสารพิษตกค้าง ส่งผลกระทบทำให้คนที่อยู่ในชุมชนรับประทานอาหารเข้าไปทำให้สะสมในร่างกาย มีคนเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ทำให้ประชาชนชาวตำบลดอนประสบปัญหาสุขภาวะด้านร่างกายมากที่สุดคือเบาหวาน 100รายความดันโลหิตสูง300 รายจากสถานการณ์ดังกล่าว กลุ่มเพื่อชีวิตที่ปลอดภัยห่างไกลจากสารเคมีทางการเกษตร จึงได้ร่วมกันเสนอการทำโครงการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ชีวีปลอดโรค โดยใช้ปุ๋ยคอกปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ เป็นพื้นฐานการปลูกพืชผัก โดยลดการใช้สารเคมี ยาฆ่าแมลงต่าง ๆ เพื่อให้คนในชุมชนตำบลดอน ได้มีพืชผัก อาหารปลอดสารพิษไว้กินเอง เป็นการสร้างระบบเกษตรกรรมปลอดสารพิษ และสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี บนพื้นฐานการเกษตรอินทรีย์ นำไปสู่ครอบครัวชุมชนอยู่ดีมีสุขตลอดไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ไขปัญหาผู้บริโภคมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

จำนวนผู้บริโภคที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 22.00 1 21,700.00
??/??/???? จัดงานมหกรรมครอบครัวเกษตรอินทรีย์ชีวีปลอดโรค 0 22.00 21,700.00
  1. ประชาสัมพันธ์ในชุมชน และรับสมัครกลุ่มผู้เป็นต้นแบบเกษตรอินทรีย์แต่ละหมู่บ้าน 5 ครัวเรือน 6 หมู่บ้าน
  2. ประชุมเตรียมการ จัดหาวัตถุดิบสนับสนุนให้แต่ละครัวเรือนหมู่บ้านดำเนินการทำการเกษตรอินทรีย์
  3. และติดตามประเมินผลโดยคณะกรรมการจัดเวทีสัมมนา
  4. จัดนิทรรศการออกร้านและมอบรางวัล
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เมื่อได้ดำเนินการตามโครงการแล้ว ตำบลดอน จำนวน 6 หมู่บ้าน มีพืชผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเอง ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนทำให้สุขภาพร่างกายดีขึ้น โรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชนลดน้อยลง ทำให้คนในชุมชนพัฒนาสู่การเรียนรู้ พึ่งพาตนเองได้อยู่อย่างมีความสุขและสุขภาพจิตดีขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ก.พ. 2561 09:57 น.