กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก


“ โครงการเทศบาลร่วมใจ ระงับโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปริก

ชื่อโครงการ โครงการเทศบาลร่วมใจ ระงับโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7889-5-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเทศบาลร่วมใจ ระงับโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเทศบาลร่วมใจ ระงับโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเทศบาลร่วมใจ ระงับโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7889-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภัยพิบัติ (Disaster) หมายถึง ภัยที่เกิดขึ้นแก่สาธารณชน ได้ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย สึนามิ ตลอดจนภัยอื่น ๆ อันเป็นสาธารณะ ไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือมีผู้กระทำให้เกิดขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ (พ.ร.บ. ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ. ศ. 2522) ซึ่งภัยธรรมชาติเป็นส่วนหนึ่งของภัยพิบัติ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ระบบเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศต่างๆ ทั่วโลก อันเนื่องมาจากการพัฒนา และกระแสโลกาภิวัตน์ส่งผลให้เกิดการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างรวดเร็ว และเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น ทั้งรูปแบบและพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อสุขภาพ ทั้งจากการ ปนเปื้อนสารเคมีมลพิษในสิ่งแวดล้อม อาหารและน้ำรวมถึงการระบาดของโรคติดเชื้อใหม่ๆ ลักษณะสภาพภูมิประเทศของประเทศไทยที่มีความหลากหลาย เป็นลักษณะภูมิประเทศที่เอื้อให้เกิดปัญหามลพิษอากาศและประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติได้ง่าย รวมทั้งความเสี่ยงที่ประสบกับปัญหาภัยแล้งและการที่ประเทศไทย มีสภาพภูมิอากาศที่ร้อนชื้นทำให้มีช่วงฤดูฝนและฤดูร้อนที่ยาวนาน ส่งผลให้ต้องประสบปัญหาภัยธรรมชาติทั้งอุทกภัย และพายุฤดูร้อน ซึ่งเกิดขึ้นบ่อยในทุกๆ ปี โดยเฉพาะเมื่อเกิดสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ยิ่งส่งผลต่อความรุนแรง และความถี่ของภัยธรรมชาติมากยิ่งขึ้น ซึ่งการเกิดอุทกภัยในภาคใต้จะเกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี ในลักษณะของน้ำท่วมขัง (drainage flood) เป็นลักษณะของอุทกภัยที่เกิดขึ้นจากปริมาณน้ำสะสมจำนวนมาก ที่ไหลบ่าในแนวระนาบ จากที่สูงไปยังที่ต่ำเข้าท่วมอาคารบ้านเรือน หรือเป็นสภาพน้ำท่วมขัง ในเขตเมืองใหญ่ที่เกิดจากฝนตกหนัก ต่อเนื่องเป็นเวลานาน มีสาเหตุมาจากระบบการระบายน้ำไม่ดีพอ มีสิ่งก่อสร้างกีดขวางทางระบายน้ำ หรือเกิดน้ำทะเลหนุนสูงกรณีพื้นที่อยู่ใกล้ชายฝั่งทะเล (กรมอุตุนิยมวิทยา)และ อุทกภัยเกี่ยวกับน้ำล้นตลิ่ง (river flood) เกิดขึ้นจากปริมาณน้ำจำนวนมากที่เกิดจากฝนหนักต่อเนื่อง ที่ไหลลงสู่ลำน้ำ หรือแม่น้ำมีปริมาณมาก จนระบายลงสู่ลุ่มน้ำและระบายไม่ทันทำให้เกิดสภาวะน้ำล้นตลิ่ง
ชุมชนเทศบาลตำบลปริกมีสภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มคลองอู่ตะเภา และคลองปริกน้ำท่วมสวน ไร่นา และบ้านเรือนตามริมตลิ่งและพื้นที่ราบลุ่มได้รับความเสียหาย ถนนหรือสะพานอาจชำรุด ทางคมนาคมถูกตัดขาดได้ (กรมอุตุนิยมวิทยา) เมื่อเกิดภาวะน้ำท่วมผลกระทบที่ตามมาคือการเกิดโรคที่มากับน้ำ เช่น โรคน้ำกัดเท้า โรคตาแดง โรคหวัดโรคอุจจาระร่วง โรคไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก การเกิดอุบัติเหตุต่างๆเป็นต้น(จากข้อมูลการเกิดอุทกภัยปี 2558โดยสำนักปลัด ฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาลตำบลปริก)และพบว่ามีบ้านเรือนในพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลปริกที่ประสบภัยประมาณ 1,361 หลังคาเรือน และพบว่าประชากรในเขตเทศบาลตำบลปริกมีปัญหาสุขภาพเช่น โรคหวัดโรคน้ำกัดเท้า โรคมือเท้าปากและการเกิดโรคระบาดไข้เลือดออก โรคฉี่หนู การเกิดอุบัติเหตุต่างๆการเกิดมลพิษทางอากาศภาวะเครียด และสิ่งแวดล้อมไม่ถูกสุขลักษณะในเรื่องการขับถ่ายและการดำรงชีวิตอยู่ จากสถานการณ์ดังกล่าวกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลปริก ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมกิจกรรมและการป้องกันการรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพ เมื่อเกิดภัยพิบัติและหลังเกิดภัยพิบัติ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบเทศบาลตำบลปริกจึงจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการ จัดหาเวชภัณฑ์ วัสดุการแพทย์ อุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องและจำเป็นเพื่อให้ผู้ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติได้รับการส่งเสริม การป้องกันโรคการรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพที่เหมาะสม ได้รับดูแลและการช่วยเหลืออย่างครอบคลุมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ร้อยละ 80 ครัวเรือนผู้ประสบภัยพิบัติได้รับช่วยเหลือ บรรเทาปัญหาความเดือดร้อนได้อย่างทันสถานการณ์
  2. ครอบครัวที่ประสบปัญหาสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามอัตภาพ
  3. ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค ตลอดจนด้านการจัดการสิ่งแวดให้เหมาะสมไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนเพื่อให้ดำรงชีวิตเป็นอย่างปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับการช่วยเหลือ สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามอัตภาพ 2.ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับส่งเสริมและป้องกันควบคุมโรค หรือการช่วยเหลือผลกระทบทางสุขภาพ จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนให้สามารถดำรงชีวิตเป็นอย่างปกติ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การดำเนินกิจกรรมโครงการ

    วันที่ 2 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อยู่ในช่วงการดำเนินกิจกรรม

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ร้อยละ 80 ครัวเรือนผู้ประสบภัยพิบัติได้รับช่วยเหลือ บรรเทาปัญหาความเดือดร้อนได้อย่างทันสถานการณ์
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ครอบครัวที่ประสบปัญหาสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามอัตภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค ตลอดจนด้านการจัดการสิ่งแวดให้เหมาะสมไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนเพื่อให้ดำรงชีวิตเป็นอย่างปกติ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้อยละ 80 ครัวเรือนผู้ประสบภัยพิบัติได้รับช่วยเหลือ บรรเทาปัญหาความเดือดร้อนได้อย่างทันสถานการณ์ (2) ครอบครัวที่ประสบปัญหาสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามอัตภาพ (3) ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค ตลอดจนด้านการจัดการสิ่งแวดให้เหมาะสมไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนเพื่อให้ดำรงชีวิตเป็นอย่างปกติ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเทศบาลร่วมใจ ระงับโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7889-5-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปริก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด