กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาศักยภาพและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ
รหัสโครงการ 60-L2536-4-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ เลขานุการกองทุนฯ
วันที่อนุมัติ 13 ตุลาคม 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 13 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 63,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ เลขานุการกองทุนฯ
พี่เลี้ยงโครงการ วาสนา การุณรักษ์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปูโยะ อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.109,101.993place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 17 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ้งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงการสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์การเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ ดังนั้นการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ในรูปแบบกองทุนสุขภาพท้องถิ่นโดยมีคณะกรรมการที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคประชาชน บุคคลากรทางสาธารณสุขและบุคคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่วนหนึ่งจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและท้องถิ่นสมทบอีกส่วนหนึ่ง จึงเป็นวิธีการอีกรูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้นำท้องถิ่นและประชาชนได้คระหนักถึงการมีส่วนร่วมที่จะสร้างเสริมสุขภาพของคนให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงในด้านกายใจ สังคมและปัญญา เพราะฉะนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯมีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพตำบลโคกเคียน จึงได้จัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปูยัให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ต่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ พร้อมคณะอนุกรรมการและคณะทำงาน
  • เพื่อพิจารณารับทราบ การดำเนินงานกองทุนฯ
2 2. รับรองคณะติดตาม การดำเนินงานกองทุนฯ
  • เพื่อรับรองคณะบุคคล
3 3. จัดซื้อวัสดุสำนักงาน
  • เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการ
4 4. จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์
  • เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการ
5 5. ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา เครื่องคอมพิวเตอร์และอื่นๆ ฯลฯ
  • เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการ
6 6. ค่าถ่ายเอกสาร, ค่าเข้าเล่มหนังสือ, ค่าส่งเอกสารและอื่นๆ ฯลฯ
  • เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการ
7 7. จัดซื้อครุภัณฑ์
  • เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการ
8 8. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหาร กองทุนฯ คณะอนุกรรมการและเจ้าหน้าที่
  • เพื่อพัฒนาศักยภาพใน การบริหารจัดการให้มี ประสิทธิภาพ
9 9. จัดทำป้ายไวนิล
  • เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์และ ดำเนินการประชุมคณะกรรมการ
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
13 ต.ค. 59 แนวทางการจัดสรรงบประมาณประจำปี 2560 17 4,500.00 -
13 ต.ค. 59 - 29 ก.ย. 60 ประชุมการเบิกจ่ายเงินโครงการฯและรายงานสถานะการเงิน 17 4,500.00 4,500.00
1 ม.ค. 60 - 30 ก.ย. 60 เพื่อรับรองคณะบุคคล 15 3,000.00 -
1 ม.ค. 60 - 30 ก.ย. 60 จัดซื้อวัสดุสำนักงานเพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการฯ 0 10,000.00 -
1 ม.ค. 60 - 30 ก.ย. 60 จัดซื้อวัสดุคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการฯ 0 4,400.00 4,375.00
1 ม.ค. 60 - 30 ก.ย. 60 ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์และอื่นๆ ฯลฯ 0 3,000.00 3,000.00
1 ม.ค. 60 - 30 ก.ย. 60 เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการถ่ายเอกสาร ค่าเข้าเล่มหนังสือ ค่าส่งเอกสาและอื่นๆ ฯลฯ 0 1,000.00 -
1 ม.ค. 60 - 30 ก.ย. 60 จัดซื้อโต๊ะคอมพิวเตอร์ 0 2,500.00 2,500.00
1 ม.ค. 60 - 30 ก.ย. 60 จัดซื้อเก้าอี้เอนกประสงค์ 0 2,600.00 2,600.00
1 ม.ค. 60 - 30 ก.ย. 60 จัดซื้อชั้นไม้วางเอนกประสงค์ 0 1,000.00 1,000.00
1 ม.ค. 60 - 30 ก.ย. 60 ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ ค่าอาหาร ค่าพักและค่าใช้จ่ายอื่นๆ 0 12,000.00 -
1 ม.ค. 60 - 30 ก.ย. 60 เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์และดำเนินการประชุม 0 1,000.00 -
19 เม.ย. 60 ประชุมการเบิกจ่ายเงินโครงการฯและรายงานสถานะการเงิน 17 4,500.00 4,500.00
19 ก.ค. 60 ประชุมการเบิกจ่ายเงินโครงการฯ และรายงานสถานะการเงิน 17 4,500.00 4,500.00
14 ก.ย. 60 ประชุมเกี่ยวกับการดำเนินงานพร้อมรายงานสรุปผลและรายงานสถานะการเงินและการจัดทำแผนปฎิบัติการกองทุน ฯประจำปีงบประมาณ 2561 17 4,500.00 4,500.00
รวม 100 63,000.00 9 31,475.00
  1. วิธีตกลงราคา และจัดซื้อจัดจ้าง
  2. จัดประชุมกรรมการหรือที่ปรึกษากองทุนฯ
  3. การเดินทางไปราชการรวมถึงค่าลงทะเบียน
  4. ประเมินและสรุปโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถจ่ายค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการหรือที่ปรึกษากองทุนฯ และคณะอนุกรรมการ
  2. สามารถพัฒนาบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลโคกเคียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ม.ค. 2560 10:37 น.