กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง


“ แก้ปัญหาสุขภาพผู้ประสบภัยน้ำท่วมและร่วมพัฒนาฟื้นฟูพื้นที่น้ำท่วมตำบลนาตาล่วง ”

ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ แก้ปัญหาสุขภาพผู้ประสบภัยน้ำท่วมและร่วมพัฒนาฟื้นฟูพื้นที่น้ำท่วมตำบลนาตาล่วง

ที่อยู่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1491-5-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มกราคม 2560 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2560


กิตติกรรมประกาศ

"แก้ปัญหาสุขภาพผู้ประสบภัยน้ำท่วมและร่วมพัฒนาฟื้นฟูพื้นที่น้ำท่วมตำบลนาตาล่วง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
แก้ปัญหาสุขภาพผู้ประสบภัยน้ำท่วมและร่วมพัฒนาฟื้นฟูพื้นที่น้ำท่วมตำบลนาตาล่วง



บทคัดย่อ

โครงการ " แก้ปัญหาสุขภาพผู้ประสบภัยน้ำท่วมและร่วมพัฒนาฟื้นฟูพื้นที่น้ำท่วมตำบลนาตาล่วง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1491-5-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มกราคม 2560 - 28 กุมภาพันธ์ 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่ร่องความกดอากาศต่ำเคลื่อนที่ผ่านอ่าวไทยและภาคใต้ ส่งผลให้เกิดภาวะอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๙-๕ มกราคม ๒๕๖๐ ที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนในหลายพื้นที่โดยเฉพาะจังหวัดตรัง พัทลุง นราธิวาส ปัตตานี ตลอดจนพื้นที่จังหวัดสงขลาบางส่วนนั้น
สำหรับพื้นที่ตำบลนาตาล่วงภายในระยะเวลา ๑ เดือน ประสบปัญหาอุทกภัย ๒ ครั้ง ครั้งที่๑ ระหว่างวันที่ ๕-๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๙และครั้งที่ ๒ ตั้งแต่วันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๐ ในพื้นที่ของหมู่ที่ ๑ ,๒ ,๓ บางส่วน และหมู่ที่ ๔ ทั้งหมด มีผู้ประสบอุทกภัย จำนวน 861ครัวเรือนจำนวนประชากร 2583 คนตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.๒๕๕๗ ข้อ๗(๕)กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลนาตาล่วงมีความตระหนักในเรื่องสุขภาพที่จะตามมาจากน้ำท่วมทั้ง ๒ครั้ง เพื่อป้องกันการเกิดโรคโรคน้ำกัดเท้า โรคฉี่หนู โรคไข้เลือดออก และร่วมพัฒนาฟื้นฟูสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการดำรงชีพโดยเร็วที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากภาวะน้ำท่วมขัง 2. เพื่อพื้นฟูสภาพแวดล้อม 3. เพื่อลงเยียวยาและแก้ปัญหาสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๓.๑ ประชาชนในพื้นที่ตำบลนาตาล่วงได้รับการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่ตามมาจากน้ำท่วม ๓.๒ ประชาชนในพื้นที่ตำบลนาตาล่วงไม่เป็นโรคที่เกิดจากน้ำท่วม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมดำเนินงาน 1. เขียนโครงการเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2. จัดซื้อสเปรย์/ โลชั่นทากันยุง 3. ลงเยี่ยมผู้ประสบภัยตามศูนย์อพยพ/พื้นที่น้ำท่วม /  แจกยาป้องกันโรคน้ำกัดเท้า สเปรย์และโลชั่นทากันยุง 4. กิจกรรม Big Cleaning Dayหมู่ที่ 1,2,3 และ จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อหลังน้ำท่วม 5. กิจกรรม Big Cleaning Dayหมู่ที่ 4 และจัดอบรม ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อหลังน้ำท่วม 6. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย 7. สรุปผลการดำเนินงาน 8. รายงานผลให้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพ
                    จากการดำเนินจัดทำโครงการแก้ปัญหาสุขภาพผู้ประสบภัยน้ำท่วมและร่วมพัฒนาฟื้นฟูพื้นที่น้ำท่วมตำบลนาตาล่วง พบว่า ผู้ประสบภัยน้ำท่วมที่เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ มีความพึงพอใจในระดับมากที่ได้รับการช่วยเหลือจากกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลนาตาล่วง ทั้งในเรื่องของการแจกสเปรย์และโลชั่นทากันยุง ให้ความรู้เรื่อง การป้องกันโรคที่มากับน้ำท่วมขัง และร่วมกับชาวบ้านจัดกิจกรรม Big Cleaning Day ทั้ง 6 หมู่บ้าน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากภาวะน้ำท่วมขัง 2. เพื่อพื้นฟูสภาพแวดล้อม 3. เพื่อลงเยียวยาและแก้ปัญหาสุขภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากภาวะน้ำท่วมขัง 2. เพื่อพื้นฟูสภาพแวดล้อม
    3. เพื่อลงเยียวยาและแก้ปัญหาสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    แก้ปัญหาสุขภาพผู้ประสบภัยน้ำท่วมและร่วมพัฒนาฟื้นฟูพื้นที่น้ำท่วมตำบลนาตาล่วง จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L1491-5-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด