โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสมศักดิ์ปุรินทราภิบาล ประธานชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นไทร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561
ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2561 ถึง 20 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2561 - 20 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความเครียดสามารถเกิดได้ทุกแห่งทุกเวลาอาจจะเกิดจากสาเหตุภายนอกเช่น การย้ายบ้าน การเปลี่ยนงาน ความเจ็บป่วย การหย่าร้าง ภาวะว่างงานความสัมพันธ์กับเพื่อน ครอบครัว หรืออาจจะเกิดจากภายในผู้ป่วยเอง เช่นความต้องการเรียนดี ความต้องการเป็นหนึ่งหรือความเจ็บป่วย
ความเครียดเป็นระบบเตือนภัยของร่างกาย ให้เตรียมพร้อมที่กระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การมีความเครียดน้อยเกินไปและมากเกินไปไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพ ส่วนใหญ่เข้าใจว่าความเครียดเป็นสิ่งไม่ดี มันก่อให้เกิดอาการปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ หัวใจเต้นเร็ว แน่นท้อง มือเท้าเย็น
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทรจึงได้ โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ ๒๕61 เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยง และการป้องกันภาวะซึมเศร้า ซึ่งเป็นสาเหตุที่นำไปสู่การทำร้ายตนเองและผู้อื่น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเครียดและโรคซึมเศร้า
- เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะเครียดด้วยตนเอง
- เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
600
กลุ่มวัยทำงาน
1,300
กลุ่มผู้สูงอายุ
700
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
60
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะเครียดและซึมเศร้ามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการป้องกันโรคเครียดและซึมเศร้า
๒. อัตราการเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยงน้อยกว่าร้อยละ ๑๐
๓. ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการค้นพบโดยเร็วและเข้าสู่ระบบการรักษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
๔. ผู้ป่วยรับยาต่อเนื่อง และสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.1 มีกิจกรรมให้ความรู้แกนนำเกี่ยวกับการประเมินภาวะเครียดและซึมเศร้าวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร
1.2 ออกประเมินประชาชนอายุ 10 ปีขึ้นไปตามตารางการออกคัดกรองตามโครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561
อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกคัดกรอง สถานที่ออกคัดกรอง จำนวน(คน) วันที่ออกคัดกรอง
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 2 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 2 363 1 มีนาคม 2561
เวลา 13.30 – 16.00 น.
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 4 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 4 468 2 มีนาคม 2561
เวลา 13.30 – 16.00 น.
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 5 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 5 407 5 มีนาคม 2561
เวลา 13.30 – 16.00 น.
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 7 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 7 516 20 มีนาคม 2561
เวลา 08.30 – 12.00 น.
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 8 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 8 258 20 มีนาคม 2561
เวลา 13.30 – 16.00 น.
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 9 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 9 303 21 มีนาคม 2561
เวลา 13.30 – 16.00 น.
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 11 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 11 435 23 มีนาคม 2561
เวลา 08.30 – 12.00 น.
รวมผู้รับการประเมินภาวะเครียดจำนวน 2750 คน พบมีภาวะเครียดจำนวน 15 คนและได้รับการปรับเปลี่ยนแนะนำพูดคุยเกี่ยวกับปัญหาที่ทำให้เกิดภาวะเครียดและประเมินซ้ำอีก 8 ข้อ พบมีภาวะเครียดผิดปกติคะแนนไม่เกิน 7 ต้องส่งต่อ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเครียดและโรคซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเครียดและโรคซึมเศร้า
2760.00
2,750.00
2
เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะเครียดด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ ๑๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะเครียดด้วยตนเอง
2750.00
2,750.00
3
เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ ๓๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้า
925.00
925.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
2760
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
600
กลุ่มวัยทำงาน
1,300
กลุ่มผู้สูงอายุ
700
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
60
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเครียดและโรคซึมเศร้า (2) เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะเครียดด้วยตนเอง (3) เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมศักดิ์ปุรินทราภิบาล ประธานชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นไทร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสมศักดิ์ปุรินทราภิบาล ประธานชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นไทร
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2561 ถึง 20 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2561 - 20 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความเครียดสามารถเกิดได้ทุกแห่งทุกเวลาอาจจะเกิดจากสาเหตุภายนอกเช่น การย้ายบ้าน การเปลี่ยนงาน ความเจ็บป่วย การหย่าร้าง ภาวะว่างงานความสัมพันธ์กับเพื่อน ครอบครัว หรืออาจจะเกิดจากภายในผู้ป่วยเอง เช่นความต้องการเรียนดี ความต้องการเป็นหนึ่งหรือความเจ็บป่วย
ความเครียดเป็นระบบเตือนภัยของร่างกาย ให้เตรียมพร้อมที่กระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การมีความเครียดน้อยเกินไปและมากเกินไปไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพ ส่วนใหญ่เข้าใจว่าความเครียดเป็นสิ่งไม่ดี มันก่อให้เกิดอาการปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ หัวใจเต้นเร็ว แน่นท้อง มือเท้าเย็น
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทรจึงได้ โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ ๒๕61 เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยง และการป้องกันภาวะซึมเศร้า ซึ่งเป็นสาเหตุที่นำไปสู่การทำร้ายตนเองและผู้อื่น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเครียดและโรคซึมเศร้า
- เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะเครียดด้วยตนเอง
- เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 600 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 1,300 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 700 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 100 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 60 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะเครียดและซึมเศร้ามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการป้องกันโรคเครียดและซึมเศร้า ๒. อัตราการเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยงน้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ๓. ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการค้นพบโดยเร็วและเข้าสู่ระบบการรักษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง ๔. ผู้ป่วยรับยาต่อเนื่อง และสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.1 มีกิจกรรมให้ความรู้แกนนำเกี่ยวกับการประเมินภาวะเครียดและซึมเศร้าวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 13.00 – 16.00 น. ณ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร 1.2 ออกประเมินประชาชนอายุ 10 ปีขึ้นไปตามตารางการออกคัดกรองตามโครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561
อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกคัดกรอง สถานที่ออกคัดกรอง จำนวน(คน) วันที่ออกคัดกรอง
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 2 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 2 363 1 มีนาคม 2561
เวลา 13.30 – 16.00 น.
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 4 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 4 468 2 มีนาคม 2561
เวลา 13.30 – 16.00 น.
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 5 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 5 407 5 มีนาคม 2561
เวลา 13.30 – 16.00 น.
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 7 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 7 516 20 มีนาคม 2561
เวลา 08.30 – 12.00 น.
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 8 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 8 258 20 มีนาคม 2561
เวลา 13.30 – 16.00 น.
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 9 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 9 303 21 มีนาคม 2561
เวลา 13.30 – 16.00 น.
เจ้าหน้าที่,อสม.หมู่ที่ 11 ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 11 435 23 มีนาคม 2561
เวลา 08.30 – 12.00 น.
รวมผู้รับการประเมินภาวะเครียดจำนวน 2750 คน พบมีภาวะเครียดจำนวน 15 คนและได้รับการปรับเปลี่ยนแนะนำพูดคุยเกี่ยวกับปัญหาที่ทำให้เกิดภาวะเครียดและประเมินซ้ำอีก 8 ข้อ พบมีภาวะเครียดผิดปกติคะแนนไม่เกิน 7 ต้องส่งต่อ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเครียดและโรคซึมเศร้า ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเครียดและโรคซึมเศร้า |
2760.00 | 2,750.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะเครียดด้วยตนเอง ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ ๑๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะเครียดด้วยตนเอง |
2750.00 | 2,750.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้า ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ ๓๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้า |
925.00 | 925.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2760 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 600 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 1,300 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 700 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 100 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 60 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเครียดและโรคซึมเศร้า (2) เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะเครียดด้วยตนเอง (3) เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๐ ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการใส่ใจสุขภาพป้องกันภาวะเครียดและซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมศักดิ์ปุรินทราภิบาล ประธานชมรม อสม. รพ.สต.บ้านต้นไทร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......