โครงการส่งเสริมรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ”
ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายสุทัศน์ อัตถเจริญสุข
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี
ที่อยู่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3066-01-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3066-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ช่วยลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางทรัพยากรบุคคลและภาระค่าใช้จ่ายต่างๆในการดูแลรักษาผู้ป่วย เพื่อควบคุมการกระจายของโรค โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอาจเกิดการระบาดได้ถ้าไม่สามารถให้วัคซีนได้ครอบคลุมเพียงพอ หรือให้ไม่ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ภูมิคุ้มกันที่สร้างจากวัคซีนมีระดับลดลงเมื่อเวลาผ่านไปและต้องได้รับการกระตุ้นซ้ำ เพราะประสิทธิภาพของวัคซีนก็จะลดลงเช่นกันประกอบไปด้วยปัจจัยต่างๆ เช่น การเก็บรักษาวัคซีนไม่ได้มาตรฐาน เทคนิคการให้บริการหรือการฉีดวัคซีน เช่น ฉีดลึก หรือตื้นเกินไป เป็นต้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี มีการจัดเก็บและวิเคราะห์ความครอบคลุมข้อมูลของการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี พบว่ามีความครอบคลุมต่ำกว่าร้อยละ 90 ซึ่งปัญหาที่ผ่านมาพบว่า เด็กไม่อยู่ในพื้นที่ ไปๆ มาๆ ผู้ปกครองไม่พาเด็กมาฉีดวัคซีน เนื่องจากผู้ปกครองไม่ตระหนักและไม่เห็นถึงความสำคัญของการเข้ารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ รวมถึงปัญหาอื่นๆ เช่น ผู้ปกครองไม่มีเวลา ไม่มียานพาหนะ เด็กอาศับอยู่กับปู่ย่าตายาย เป็นต้น
จากปัญหาดังกล่าว ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์ จึงได้จัดทำโครงการเด็กน้อยสุขภาพดี วัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันกลุ่มเด็ก อายุ 0-5 ปี ในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อสร้างแรงจูงใจแก่เด็กและผู้ปกครอง รวมทั้งให้ผู้ปกครองเห็นถึงความสำคัญ มีความเข้าใจ ในเรื่องสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน และรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0-5 ปี อย่างทั่วถึง พร้อมนำบุตรหลานมารับบริการตามเกณฑ์มาตรฐานด้วยความเต็มใจและต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนที่มีคุณภาพครบตามเกณฑ์
- 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและตระหนักถึงการนำบุตร หลาน มารับบริการฉีดวัคซีนในสถานบริการตามนัด
- 3. เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์ มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและเห็นความสำคัญของการนำบุตรหลานมารับบริการฉีดวัคซีนในสถานบริการ
- เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ร้อยละ 100
- ไม่มีอัตราการป่วยตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเขตรับผิดชอบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย : 130 คน แยกเป็น 2 กิจกรรม
กิจกรรมที่ 1.อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำสุขภาพชุมชน จำนวน 50 คน
กิจกรรมที่ 2.ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปี จำนวน 80 คน
กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ปกครองของเด็กที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคและตระหนักถึงการนำบุตร หลาน มารับบริการฉีดวัคซีนที่มีคุณภาพครบตามเกณฑ์ในสถานบริการตามนัด และป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนที่มีคุณภาพครบตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและตระหนักถึงการนำบุตร หลาน มารับบริการฉีดวัคซีนในสถานบริการตามนัด
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3. เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
130
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
50
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนที่มีคุณภาพครบตามเกณฑ์ (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและตระหนักถึงการนำบุตร หลาน มารับบริการฉีดวัคซีนในสถานบริการตามนัด (3) 3. เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3066-01-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุทัศน์ อัตถเจริญสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี ”
ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายสุทัศน์ อัตถเจริญสุข
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3066-01-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3066-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ช่วยลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางทรัพยากรบุคคลและภาระค่าใช้จ่ายต่างๆในการดูแลรักษาผู้ป่วย เพื่อควบคุมการกระจายของโรค โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอาจเกิดการระบาดได้ถ้าไม่สามารถให้วัคซีนได้ครอบคลุมเพียงพอ หรือให้ไม่ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ภูมิคุ้มกันที่สร้างจากวัคซีนมีระดับลดลงเมื่อเวลาผ่านไปและต้องได้รับการกระตุ้นซ้ำ เพราะประสิทธิภาพของวัคซีนก็จะลดลงเช่นกันประกอบไปด้วยปัจจัยต่างๆ เช่น การเก็บรักษาวัคซีนไม่ได้มาตรฐาน เทคนิคการให้บริการหรือการฉีดวัคซีน เช่น ฉีดลึก หรือตื้นเกินไป เป็นต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี มีการจัดเก็บและวิเคราะห์ความครอบคลุมข้อมูลของการได้รับวัคซีนเด็ก 0-5 ปี พบว่ามีความครอบคลุมต่ำกว่าร้อยละ 90 ซึ่งปัญหาที่ผ่านมาพบว่า เด็กไม่อยู่ในพื้นที่ ไปๆ มาๆ ผู้ปกครองไม่พาเด็กมาฉีดวัคซีน เนื่องจากผู้ปกครองไม่ตระหนักและไม่เห็นถึงความสำคัญของการเข้ารับวัคซีนครบตามเกณฑ์ รวมถึงปัญหาอื่นๆ เช่น ผู้ปกครองไม่มีเวลา ไม่มียานพาหนะ เด็กอาศับอยู่กับปู่ย่าตายาย เป็นต้น จากปัญหาดังกล่าว ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตันหยงเปาว์ จึงได้จัดทำโครงการเด็กน้อยสุขภาพดี วัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันกลุ่มเด็ก อายุ 0-5 ปี ในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อสร้างแรงจูงใจแก่เด็กและผู้ปกครอง รวมทั้งให้ผู้ปกครองเห็นถึงความสำคัญ มีความเข้าใจ ในเรื่องสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน และรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0-5 ปี อย่างทั่วถึง พร้อมนำบุตรหลานมารับบริการตามเกณฑ์มาตรฐานด้วยความเต็มใจและต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนที่มีคุณภาพครบตามเกณฑ์
- 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและตระหนักถึงการนำบุตร หลาน มารับบริการฉีดวัคซีนในสถานบริการตามนัด
- 3. เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 80 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์ มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและเห็นความสำคัญของการนำบุตรหลานมารับบริการฉีดวัคซีนในสถานบริการ
- เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ร้อยละ 100
- ไม่มีอัตราการป่วยตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเขตรับผิดชอบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย : 130 คน แยกเป็น 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1.อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำสุขภาพชุมชน จำนวน 50 คน กิจกรรมที่ 2.ผู้ปกครองของเด็กอายุ 0-5 ปี จำนวน 80 คน กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ปกครองของเด็กที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคและตระหนักถึงการนำบุตร หลาน มารับบริการฉีดวัคซีนที่มีคุณภาพครบตามเกณฑ์ในสถานบริการตามนัด และป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนที่มีคุณภาพครบตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและตระหนักถึงการนำบุตร หลาน มารับบริการฉีดวัคซีนในสถานบริการตามนัด ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 130 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 80 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนที่มีคุณภาพครบตามเกณฑ์ (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและตระหนักถึงการนำบุตร หลาน มารับบริการฉีดวัคซีนในสถานบริการตามนัด (3) 3. เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมรับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3066-01-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุทัศน์ อัตถเจริญสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......