กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการเปลี่ยนหน้า เปลี่ยนใจ เปลี่ยนความรู้สึก ”

ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
น.ส.สูกายนาห์ ดูละสะ

ชื่อโครงการ โครงการเปลี่ยนหน้า เปลี่ยนใจ เปลี่ยนความรู้สึก

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4117-01-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเปลี่ยนหน้า เปลี่ยนใจ เปลี่ยนความรู้สึก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเปลี่ยนหน้า เปลี่ยนใจ เปลี่ยนความรู้สึก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเปลี่ยนหน้า เปลี่ยนใจ เปลี่ยนความรู้สึก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4117-01-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นโรคที่พบได้มากขึ้นในปัจจุบัน และมีความรุนแรงมาก หากพบว่าป่วยเป็นโรคมะเร็งผู้ป่วยมีอัตราการเสียชีวิตสูงมาก โดยเฉพาะในรายที่ป่วยอยู่ในระยะสุดท้ายหากมีการตรวจพบเร็วในระยะเริ่มต้น ก็มีโอกาสที่จะรักษาหายขาดได้ โดยทั้งนี้ในระบบสาธารณสุขของไทยก็ยังมีข้อจำกัดอีกมากมายเกี่ยวกับการรักษาโรคมะเร็ง เช่น สถานพยาบาลที่ให้การรักษามีจำนวนจำกัด ปริมาณของผู้ป่วยที่มีมากขึ้น ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่สูง เป็นต้น เหล่านี้ล้วนแต่เป็นสาเหตุที่ทำให้ประชาชนทุกคนเสียโอกาสในการเข้าถึงบริการอย่างทันท่วงทีได้จำเป็นที่จะต้องหันมาใส่ใจและดูแลสุขภาพตนเองให้มากขึ้น หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่อาจเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดมะเร็งได้ โดยเฉพาะในกลุ่มสตรีพบว่าในปัจจุบันมีผู้หญิงที่ป่วยและเสียชีวิตจากการเป็นมะเร็งปากมดลูกมากที่สุด และมะเร็งเต้านมก็พบว่าอยู่ในลำดับรองลงมา
จากการตรวจคัดกรองในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ พบว่าได้ทำการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓๐ – ๖๐ ปี จำนวน ๔๐ คน พบมีความผิดปกติ จำนวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๕ และคัดกรองมะเร็งเต้านมในหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ ๓๐ – ๗๐ ปี จำนวน ๑,๐๓๒ คน พบมีความผิดปกติ จำนวน ๓ คน พบว่าวินิจฉัยโดยแพทย์เป็นมะเร็งเต้านม จำนวน ๒ คน (งานโรค ไม่ติดต่อ รพ.สต.บาละ ;กันยายน ๒๕๖๐) จากตัวเลขความผิดปกติดังกล่าวข้างต้น มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคมะเร็งตามมาได้ จำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชน เจ้าหน้าที่และภาคีเครือข่ายสุขภาพจะต้องหันมาให้ความสำคัญ และสร้างความตระหนัก สร้างองค์ความรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายในการที่จะปรับพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมโดยเฉพาะช่วยส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการตรวจคัดกรองอย่างต่อเนื่อง อันจะช่วยให้สามารถค้นพบมะเร็งได้ตั้งแต่เริ่มต้น ซึ่งสามารถช่วยลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมลงได้

ดังนั้นในปี ๒๕๖๑ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ จึงได้จัดทำโครงการเปลี่ยนหน้า เปลี่ยนใจ เปลี่ยนความรู้สึก เพื่อจัดอบรมให้ความรู้กับแกนนำสุขภาพและสตรีกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตลอดจนทำการค้นหาและคัดกรองในสตรีกลุ่มเป้าหมายได้อย่างครอบคลุม เพื่อส่งต่อและรับการรักษาได้อย่างทันท่วงที

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกให้กับแกนนำและ หญิงวัยเจริญพันธุ์
  2. เพื่อเป็นการสร้างกระแสและให้ความสำคัญในการตรวจคัดกรองเต้านม และมะเร็งปากมดลูก
  3. เพื่อพัฒนาการให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกตามมาตรฐานอย่าง ครอบคลุม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓๐ – ๖๐ ปี ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน ๑๒๐ คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๘.๑ ร้อยละ ๙๐ ของแกนนำและหญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและ   มะเร็งปากมดลูก ๘.๒ ร้อยละ ๙๐ ของแกนนำและหญิงวัยเจริญพันธุ์มีความตระหนักที่จะตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม       และมะเร็งปากมดลูก ๘.๓ เพื่อพัฒนาการให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกตามมาตรฐานอย่าง       ครอบคลุมร้อยละ ๑๐๐ ๘.๔ สรุปผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งเต้านมจากโปรแกรมของจังหวัดร้อยละ ๙๐ ๘.๕ สรุปผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกจากโปรแกรมของจังหวัดร้อยละ ๒๐ ๘.๖ สรุปผลจากทะเบียนแสดงจำนวนผลการตรวจที่ผิดปกติและได้รับการส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓๐ – ๖๐ ปี ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน ๑๒๐ คน

วันที่ 26 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

๔.๑  จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ และขอสนับสนุนงบประมาณ ๔.๒  จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก  ให้กับแกนนำสุขภาพและ                   สตรีกลุ่มเป้าหมาย ๔.๓. รณรงค์สร้างกระแสและประชาสัมพันธ์ให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการตรวจคัดกรอง             มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ๔.๔  ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ณ จุดนัดหมาย ๔.๕  ส่งต่อผู้ป่วยในรายที่ผลตรวจผิดปกติพบแพทย์เพื่อรับการรักษาได้ทันท่วงที           ๔.๖  ดำเนินงานตามโครงการที่ได้รับอนุมัติ ประเมินผล  สรุปโครงการ ๔.๙  รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๘.๑  ร้อยละ ๙๐ ของแกนนำและหญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและ     มะเร็งปากมดลูก ๘.๒ ร้อยละ ๙๐ ของแกนนำและหญิงวัยเจริญพันธุ์มีความตระหนักที่จะตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม             และมะเร็งปากมดลูก ๘.๓ เพื่อพัฒนาการให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกตามมาตรฐานอย่าง             ครอบคลุมร้อยละ ๑๐๐ ๘.๔  สรุปผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งเต้านมจากโปรแกรมของจังหวัดร้อยละ ๙๐ ๘.๕  สรุปผลการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกจากโปรแกรมของจังหวัดร้อยละ ๒๐ ๘.๖  สรุปผลจากทะเบียนแสดงจำนวนผลการตรวจที่ผิดปกติและได้รับการส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกให้กับแกนนำและ หญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อเป็นการสร้างกระแสและให้ความสำคัญในการตรวจคัดกรองเต้านม และมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาการให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกตามมาตรฐานอย่าง ครอบคลุม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกให้กับแกนนำและ      หญิงวัยเจริญพันธุ์ (2) เพื่อเป็นการสร้างกระแสและให้ความสำคัญในการตรวจคัดกรองเต้านม และมะเร็งปากมดลูก (3) เพื่อพัฒนาการให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกตามมาตรฐานอย่าง              ครอบคลุม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓๐ – ๖๐ ปี ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน ๑๒๐ คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเปลี่ยนหน้า เปลี่ยนใจ เปลี่ยนความรู้สึก จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4117-01-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.สูกายนาห์ ดูละสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด