กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการลดความตระหนก เพิ่มความตระหนักร่วมกันขจัดภัยมาลาเรีย ”

ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายซอบรี มณีหิยา

ชื่อโครงการ โครงการลดความตระหนก เพิ่มความตระหนักร่วมกันขจัดภัยมาลาเรีย

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4117-01-9 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดความตระหนก เพิ่มความตระหนักร่วมกันขจัดภัยมาลาเรีย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดความตระหนก เพิ่มความตระหนักร่วมกันขจัดภัยมาลาเรีย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดความตระหนก เพิ่มความตระหนักร่วมกันขจัดภัยมาลาเรีย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4117-01-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 กุมภาพันธ์ 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อนำโดยแมลงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยมานานกว่า๔๐ปีโดยเฉพาะโรคไข้มาลาเรีย โรคไข้เลือดออก เป็นต้น ในแต่ละปีจะมีประชาชนป่วยเป็นจำนวนมาก และยังมีโรคติดต่อนำโดยแมลงอื่นๆ ที่กลับมาเป็นปัญหาที่สำคัญในขณะนี้ ได้แก่ โรคมาลาเรียที่มียุงก้นปล่องเป็นพาหะ เป็นต้น ประกอบกับเกิดภาวะโลกร้อน เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ชีวนิสัยของยุงเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้เกิดการระบาดของโรคขึ้น สำหรับข้อมูลอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ ตั้งแต่ ๑ มกราคม ๒๕๖๐ – ตุลาคม ๒๕๖๐ มีจำนวน ๙๖ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๑,๗๖๘.๙๓ ต่อแสนประชากร ( เป้าหมายต้องไม่เกิน ๔๐๐ ต่อแสนประชากร ) ซึ่งเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน สร้างผลกระทบต่อฐานะทางเศรษฐกิจการประกอบอาชีพของผู้ป่วยและครอบครัว รวมทั้งมีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายทางภาครัฐด้านการรักษาพยาบาลส่งผลให้เกิดความสูญเสียมากมายต่อเศรษฐกิจ สังคมของประเทศ ทั้งๆโรคนี้เป็นโรคที่ประชาชนสามารถดำเนินการป้องกันได้ ดังนั้น จึงควรมีการดำเนินการทุกวิถีทางเพื่อให้ประชาชนและชุมชนมีความสามารถในเชิงป้องกันการเกิดโรคเหล่านั้นได้ ดังนั้นการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงในชุมชนนั้น จึงมีความจำเป็นต้องอาศัยหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่ในการปฏิบัติงานป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ดังกล่าวอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา รวมถึงการติดต่อประสานงานเพื่อให้เกิดการระดมสมอง แลกเปลี่ยนความคิด ประสบการณ์จากผู้ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ส่งผลให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นซึ่งที่ผ่านมานั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บาละร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพตำบลฯก็ได้ดำเนินการในรูปแบบข้างต้นแล้วระดับหนึ่ง แต่ก็ยังไม่เกิดประสิทธิภาพและความต่อเนื่องพอในการควบคุม ป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคที่เป็นต้นเหตุได้ อาทิ ปัญหาการจัดการกับปัจจัย Host , Agent , Environment นี้ยังไม่เป็นระบบและยังไม่เกิดความเสถียรภาพพอ จึงทำให้เป็นปัจจัยเอื้อต่อการเกิดโรคนี้ขึ้นอย่างต่อเนื่องมาจวบจนทุกวันนี้ได้ ซึ่งเหล่านี้เป็นปัญหาสุขภาพหรือภัยคุกคามต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละโดยตรง ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชนได้ จากปัญหาข้างต้นนี้ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ ได้เล็งเห็นถึงภัยสุขภาพของประชาชนที่เป็นประจักษ์แล้วนั้น จึงได้จัดทำโครงการลดความตระหนก เพิ่มตระหนัก ร่วมกันขจัด ภัยมาลาเรียปี 256๑ นี้ขึ้น เพื่อหาแนวทางและมาตรการในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละนี้ ตลอดจนนำไปสู่การมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนอย่างถ้วนหน้าต่อไปได้อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อสร้างเสริมทักษะและความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและเฝ้าระวังโรคมาลาเรียในชุมชน
  2. ๒. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีความตระหนักการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังของโรคมาลาเรียในชุมชน
  3. ๓. เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชน ในการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังของโรคมาลาเรียในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ฯแก่กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ     - กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น สามารถดำเนินการเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคมาลาเรียในชุมชนได้
- ชุมชนมีความตระหนักในการดูแลตนเองมากยิ่งขึ้นในการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังของโรคมาลาเรียได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ฯแก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 8 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ
    ระยะเตรียมการ ๑. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ ๒. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๓. ประชุมชี้แจงผู้นำชุมชน และผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนรูปแบบการดำเนินงานที่ชัดเจนในระดับชุมชน ๔. จัดทำป้ายโครงการฯ
    ระยะดำเนินการ ๕. ดำเนินการอบรมให้ความรู้เสริมทักษะเกี่ยวกับการการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อในชุมชน แก่ กลุ่มเป้าหมาย ๖. ประเมินผลเชิงคุณในการอบรมของกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้แบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังการบรม
    ระยะหลังดำเนินการ/สรุป ๗. ประเมินผลการดำเนินงานปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขเพื่อการปรับใช้ในการดำเนินงานในครั้งต่อไป ๘. สรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมทั้งหมด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่คาดว่าจะได้รับ           - กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น สามารถดำเนินการเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังโรคมาลาเรียในชุมชนได้
- ชุมชนมีความตระหนักในการดูแลตนเองมากยิ่งขึ้นในการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังของโรคมาลาเรียได้

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อสร้างเสริมทักษะและความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและเฝ้าระวังโรคมาลาเรียในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 ๒. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีความตระหนักการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังของโรคมาลาเรียในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 ๓. เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชน ในการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังของโรคมาลาเรียในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อสร้างเสริมทักษะและความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและเฝ้าระวังโรคมาลาเรียในชุมชน (2) ๒. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีความตระหนักการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังของโรคมาลาเรียในชุมชน (3) ๓. เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชน ในการควบคุมป้องกันและเฝ้าระวังของโรคมาลาเรียในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ฯแก่กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดความตระหนก เพิ่มความตระหนักร่วมกันขจัดภัยมาลาเรีย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4117-01-9

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซอบรี มณีหิยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด