กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ


“ โครงการรณรงค์ลดการเผา และแก้ไขปัญหาหมอกควันไฟ ”

ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางดียานา ประจงไสย

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ลดการเผา และแก้ไขปัญหาหมอกควันไฟ

ที่อยู่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8413-02-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ลดการเผา และแก้ไขปัญหาหมอกควันไฟ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ลดการเผา และแก้ไขปัญหาหมอกควันไฟ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ลดการเผา และแก้ไขปัญหาหมอกควันไฟ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8413-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โดยทั่วไปช่วงหน้าแล้งหรือหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต มักจะพบว่ามีการเผาตอซัง ฟางข้าว และเศษพืชที่เหลือทิ้งในพื้นที่การเกษตร เพราะเห็นว่าเป็นวิธีการที่สะดวก รวดเร็ว ในการเตรียมพื้นที่เพาะปลูกครั้งต่อไป โดยไม่คำนึงถึงผลเสียหายที่ตามมาทั้งต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม การเผาตอซังจะทำให้ดินเสื่อมโทรม ธาตุอาหารและสิ่งมีชีวิตในดินถูกทำลาย ส่วนการเผานั้นอาจจะมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันไป แต่จะเผาด้วยเหตุใดก็แล้วแต่ จะส่งผลกระทบต่อดินทั้งสิ้น ทั้งทำลายอินทรีย์ วัตถุและธาตุอาหารในดิน ทำลายโครงสร้างดินที่เหมาะสมต่อการปลูกพืชลงอย่างต่อเนื่องทุกปี โครงสร้างดินอัดแน่นเสียหายเกิดการอิ่มตัวของน้ำเร็วขึ้น เก็บน้ำได้น้อยไม่ทนแล้ง การระบายน้ำได้น้อย ช่องว่างของอากาศไม่เพียงพอ ดินแข็งมากขึ้น ไถเตรียมดินได้ตื้นขึ้น หน้าดินน้อยลงและรากพืชแทงทะลุได้ยากขึ้น การเจริญเติบโตไม่เต็มที่ผลผลิตต่ำ. ทำลายแมลงควบคุมศัตรูพืช และจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ในดินทำให้ปริมาณของจุลินทรีย์ลดลง เช่น การเปลี่ยนก๊าซไนโตรเจนที่พืชใช้ประโยชน์ได้ การแปรสภาพอินทรีย์ฟอสฟอรัสให้อยู่ในรูปของฟอสเฟตที่ละลายน้ำได้ และการย่อยสลายอินทรีย์สารเป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน นอกจากนั้นตัวอ่อนของแมลงศัตรูพืชและจุลินทรีย์ที่สามารถควบคุมโรคพืชถูกทำลายไป ซึ่งหากระบบนิเวศน์ของดินไม่สมดุลทำให้การแพร่ระบาดของโรคเกิดได้ง่ายขึ้น สูญเสียน้ำในดิน คือการเผาตอซัง ทำให้ผิวดินมีอุณหภูมิสูงถึง 90 องศา ทำให้น้ำในดินระเหยสู่บรรยากาศความชื้นลดลง ก่อให้เกิดเขม่าควันฝุ่นละอองก๊าซพิษส่งผลเสียต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดการเสียสมดุลของธรรมชาติ ทั้งนี้ หากมีการเผาฟางข้าวปีละครั้งทั่วประเทศ 60 ล้านไร่ จะก่อให้เกิดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 27 ล้านกิโลกรัมคาร์บอน การปลดปล่อยก๊าซไนโตรเจน 462 ล้านกิโลกรัมไนโตรเจน ฝุ่นละออง 100 – 700 ล้านกิโลกรัมต่อไร่ ก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจกเป็นสาเหตุของการทำให้โลกร้อนและเกิดภาวะฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วงมากขึ้น
จากผลเสียหายที่ตามมาเทศบาลตำบลบาลอ เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรและประชาชนได้รับรู้ถึงผลกระทบของการเผาทุ่งนาหรือเผาตอซัง ฟางข้าว เพื่อจะได้เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรและประชาชนเองในระยะยาว ทั้งด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดการเผาทุ่งนาหลังฤดูเก็บเกี่ยว
  2. เพื่อลดมลพิษจากการเผาทุ่งนาหรือตอซัง ฟางข้าวในสิ่งแวดล้อม
  3. ลดภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์วางไว้ตามจุดต่างๆจำนวน3 จุด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. การเผาทุ่งนาหลังฤดูการเก็บเกี่ยวลดน้อยลง ๒. มลพิษจากการเผาตอซังและฟางข้าวในสิ่งแวดล้อมลดลงและลดภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์วางไว้ตามจุดต่างๆจำนวน3 จุด

วันที่ 1 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่ทราบ 2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเกษตรในชุมชน 3.จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์วางไว้ตามจุดต่างๆจำนวน3 จุด โดยจัดตั้งในที่ๆเกษตรกรและคนทั่วไป สามารถรับรู้อันตรายจากการเผาตอซัง ฟางข้าว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.การเผาทุ่งนาในฤดูเก็บเกี่ยวลดน้อยลง 2.มลพิษจากการเผาตอซังฟางข้าวในสิ่งแวดล้อมลดลงและลดภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดการเผาทุ่งนาหลังฤดูเก็บเกี่ยว
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดมลพิษจากการเผาทุ่งนาหรือตอซัง ฟางข้าวในสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : สถิติของการเผาทุ่งนา
0.00

 

3 ลดภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการเผาทุ่งนาหลังฤดูเก็บเกี่ยว (2) เพื่อลดมลพิษจากการเผาทุ่งนาหรือตอซัง ฟางข้าวในสิ่งแวดล้อม (3) ลดภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์วางไว้ตามจุดต่างๆจำนวน3 จุด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ลดการเผา และแก้ไขปัญหาหมอกควันไฟ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8413-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดียานา ประจงไสย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด