กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ โครงการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายจำลอง ประทุมสวัสดิ์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-02-002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2561 ถึง 30 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2561-L7572-02-002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2561 - 30 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชุมชนบ้านท่าน้ำหัวนอน ต.ลำปำ อ.เมือง จ.พัทลุง ได้จัดตั้งศูนย์ผู้สูงอายุเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและส่งเสริมความสุข 5 มิติ ได้แก่ ด้านสุขสบาย ด้านสุขสนุก ด้านสุขสง่า ด้านสุขสว่าง และด้านสุขสงบ ขณะนี้มีสมาชิกผู้สูงอายุ จำนวน 105 คน ได้ผ่านการดำเนินงานโครงการในผู้สูงอายุเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ฯลฯ ปี 2560 ได้มีการประชุมเพื่อรับทราบปัญหาและแนวทางการดำเนินงานของศูนย์ผู้สูงอายุดังกล่าว 3 ครั้ง เพื่อรับหลักการที่จะดำเนินการต่อเพราะยังมรหลักสูตรของโครงการนี้อยู่อีก 16 สัปดาห์ ซึ่งผู้สูงอายุในศูนย์นี้ได้กระจายอยู่ตามชุมชนต่างๆ ในพื้นที่ ตำบลลำปำเขตเทศบาล5 ชุมชน และนอกเขตเทศบาลอยู่ตามหมู่บ้านต่างๆ และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คณะทำงานในศูนย์ฯ ได้ลงความเห็นให้ดำเนินการต่อเนื่องเพราะยังมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับความสุขเชิงจิตวิทยาตามคู่มือและหลักสูตรของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข คือ “โปรแกรม 16 สัปดาห์ เพื่อพัฒนาความสุข 5 มิติในผู้สูงอายุ โดยเน้นหนักผู้สูงอายุ กลุ่มติดสังคม เพื่อเข้าร่วมโครงการโดยเข้าร่วมในช่วง 7 สัปดาห์แรกได้ซึ่งกลุ่มติดสังคมมีความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจเมื่อด้านหลักสูตรมีแล้วสามารถเป็นแกนนำในการดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียงในลักษณะ เพื่อนช่วยเพื่อน” กิจกรรมหลักเยี่ยมบ้านกลุ่มติดบ้านและติดเตียง ทั้งนี้คณะทำงานและวิทยากรของศูนย์ฯดังกล่าวได้นำข้อมูลการคัดกรองผู้สูงอายุ จำแนกเป็นกลุ่มติดสังคม กลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียง มาวางแผนการดำเนินงานให้เกิดความสุข 5 มิติ ซึ่งจะดำเนินการทุกสัปดาห์ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1 – สัปดาห์ที่ 7 โดยเฉพาะสัปดาห์ที่ 7 จะเป็นการประเมินสมรรถภาพร่างกายและคุณภาพชีวิตกิจกรรมสุขสบาย ความสุข ความมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ สัปดาห์ที่ 8-สัปดาห์ที่ 16 ได้ประชุมตกลงจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความสุข สนุก สุขสง่า สุขสว่างและสุขสงบ ในวันผู้สูงอายุแห่งชาติ เดือนเมษายน 2561และในแต่ละเดือนได้กำหนดจัดกิจกรรมทุกวันพุธที่ 3 ของเดือนตลอดปีโดยเชิญวิทยากรด้านสุขภาพมาให้ความรู้ทุกครั้ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงทางด้านร่างกายและจิตใจ(สุขภาพจิตดี)
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีชีวิตที่ยืนยาว มีความมั่นคงในสังคมและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม โดยการมีส่วนร่วม กิจกรรม และทำประโยชน์ต่อสังคม
  3. เพื่อให้มีความสุขต่อการใช้ชีวิตในบั้นปลายที่เหลืออยู่พร้อมส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคตลอดจนเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับผู้สูงอายุจึงเป็น “ภาระ” ให้เป็น “พลัง” ของครอบครัว,ชุมชน ด้วยการเป็นผู้ให้อย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตามโปรแกรมความสุข 5 มิติ16 สัปดาห์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีระบบการเฝ้าระวังและติดตามดูแลกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้านและติดเตียงโดยมีกลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมที่เข้าร่วมโครงการ
  2. ผู้สูงอายุทั้ง 3 กลุ่ม จะมีความสุข 5 มิติ ทั้งร่างกายและจิตใจ
  3. ครอบครัว สังคม จะเข้าใจชีวิตผู้สูงอายุมากขึ้นและให้ความสำคัญกับผู้สูงอายุมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตามโปรแกรมความสุข 5 มิติ16 สัปดาห์

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมตามโปรแกรมความสุข 5 มิติ16 สัปดาห์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตามเอกสารส่วนที่ 3

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงทางด้านร่างกายและจิตใจ(สุขภาพจิตดี)
ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุ 100 คน มีความรู้ ความเข้าใจตนเองและปัญหาสุขภาพจิต มีความสุข 5 มิติ อย่างน้อยร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีชีวิตที่ยืนยาว มีความมั่นคงในสังคมและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม โดยการมีส่วนร่วม กิจกรรม และทำประโยชน์ต่อสังคม
ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุมีชีวิตที่ยืนยาวและอยู่ในสังคมร่วมกิจกรรมทำประโยชน์ต่อสังคมร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้มีความสุขต่อการใช้ชีวิตในบั้นปลายที่เหลืออยู่พร้อมส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคตลอดจนเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับผู้สูงอายุจึงเป็น “ภาระ” ให้เป็น “พลัง” ของครอบครัว,ชุมชน ด้วยการเป็นผู้ให้อย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี
ตัวชี้วัด : - มีความสุขต้องการใช้ชีวิตในบั้นปลายที่เหลืออยู่พร้อมทั้งส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคปรับเปลี่ยนทัศนคติจาก “ภาระ” เป็น “พลัง” ร้อยละ 70
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงทางด้านร่างกายและจิตใจ(สุขภาพจิตดี) (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีชีวิตที่ยืนยาว มีความมั่นคงในสังคมและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม โดยการมีส่วนร่วม กิจกรรม และทำประโยชน์ต่อสังคม (3) เพื่อให้มีความสุขต่อการใช้ชีวิตในบั้นปลายที่เหลืออยู่พร้อมส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคตลอดจนเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับผู้สูงอายุจึงเป็น “ภาระ” ให้เป็น “พลัง” ของครอบครัว,ชุมชน ด้วยการเป็นผู้ให้อย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตามโปรแกรมความสุข 5 มิติ16 สัปดาห์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-02-002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจำลอง ประทุมสวัสดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด