กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลืออดออก ปี 2561 ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายธนิตมูสิกะปาละ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลืออดออก ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L3306-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 ธันวาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลืออดออก ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลืออดออก ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลืออดออก ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2561-L3306-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 ธันวาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับประเทศ โดยในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นจำนวนมาก และบางรายมีอาการรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต ทำให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม รัฐบาลได้เล็งเห็นความสำคัญและได้นำปัญหาโรคไข้เลือดออกมากำหนดเป็นนโยบายหลักในการดำเนินงาน และได้กำหนดให้โรคไข้เลือดออกเป็นตัวชี้วัดหนึ่งในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข โดยที่สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งจะต้องมีการเตรียมความพร้อมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยต้องมีการบูรณาการแผนงาน กิจกรรมและงบประมาณ กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องให้ครอบคลุมทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจากรายงานทางระบาดวิทยา 5 ปี ย้อนหลัง สำหรับเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคู พบว่า ในปี พ.ศ.2556 มีรายงานผู้ป่วย จำนวน 14 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 269.17 ต่อแสนประชากร โดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ปี 2557 มีรายงานผู้ป่วย จำนวน 7 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 132.07 ต่อแสนประชากร โดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ปี พ.ศ.2558 มีรายงานผู้ป่วย จำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 18.45 ต่อแสนประชากรโดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ปี 2559 มีรายงานผู้ป่วย จำนวน 40 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 728.86 ต่อแสนประชากร โดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต และปี 2560 มีรายงานผู้ป่วย จำนวน 14 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 256.41 ต่อแสนประชากร โดยไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต ซึ่งจะเห็นได้ว่าเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านคู ในปี 2559 เกิดขึ้นมากที่สุด มีอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกใกล้เคียงกับอัตราป่วยของอำเภอกงหราที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เกณฑ์ที่กำหนดคืออัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐานของอัตราป่วยย้อนหลัง 5 ปี อัตราป่วยไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากรต่อปี และเกณฑ์สำคัญที่นำมาพิจารณาคือ ค่าร้อยละของครัวเรือนที่พบลูกน้ำยุงลาย (HI) ไม่เกินร้อยละ 10 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนหมู่บ้าน/ชุมชน ทั้งหมด และโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มัสยิด ปลอดลูกน้ำยุงลาย (Cl = 0) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว จะเห็นได้ว่าการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จะต้องดำเนินการตั้งแต่ก่อนการเกิดโรค เมื่อเกิดโรค และหลังจากเกิดโรค นั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่ง โดยต้องดำเนินการอย่างครอบคลุม ต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ และทันเวลา ทั้งในการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย การให้ความรู้แก่ประชาชน การพ่นเคมีเพื่อทำลายยุงลายตัวเต็มวัย การสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการสร้างความร่วมมือกันในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ให้มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ซึ่งจะทำให้การป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกของเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านคู สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน โรงเรียน และองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อให้โรคไข้เลือดออกลดลง และมีการควบคุมการระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพไม่มีการระบาด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปรระชุมเตรียมความพร้อม SSRT
  2. การพ่นหมอกควัน
  3. เดินรณรงค์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และการปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง และมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2.เกิดความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อสม. ประชาชน และหน่วยงานสาธารณสุขในการควบคุมลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง 3.อัตราปวยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง และมีการควบคุมการระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีการระบาดซ้ำ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปรระชุมเตรียมความพร้อม SSRT

วันที่ 22 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเตรียมความพร้อมของทีม SSRT

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทีม SSRT  เข้าร่วมประชุมอย่างพร้อมเพรียง เตรียมปฏิบัติหน้าที่เมื่อเกิดเหตุ  จำนวน 87 คน

 

87 0

2. เดินรณรงค์

วันที่ 28 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

เดินรณรงค์ สร้างกระแส ให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายในหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชน นักเรียน ทุกหมู่บ้าน ร่วมกิจจกรมอย่างพร้อมเพรียง จำนวน 500 คน

 

500 0

3. การพ่นหมอกควัน

วันที่ 14 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการจัดซื้อวัสดุที่ต้องใช้ ดำเนินการพ่นหมอกควัน ตาม สถานที่สำคัญ เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พ่นหมอกควัน ที่ ศพด. และโรงเรียน ก่อนเปิดเทอม

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : หมู่บ้านมีค่า HI < 10 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 สถานที่ราชการ โรงเรียน มัสยิด มีค่า CL = ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน โรงเรียน และองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนมีระบบการป้องกันควบคุมโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ได้อย่างมีมาตรฐาน
0.00

 

3 เพื่อให้โรคไข้เลือดออกลดลง และมีการควบคุมการระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพไม่มีการระบาด
ตัวชี้วัด : ลดอัตราป่วยลงร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐานของอัตราปวยย้อนหลัง 5 ปี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน ชุมชน โรงเรียน และองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อให้โรคไข้เลือดออกลดลง และมีการควบคุมการระบาดของโรคอย่างมีประสิทธิภาพไม่มีการระบาด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปรระชุมเตรียมความพร้อม SSRT (2) การพ่นหมอกควัน (3) เดินรณรงค์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลืออดออก ปี 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L3306-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธนิตมูสิกะปาละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด