โครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ ปีงบประมาณ 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ ปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางลาตียามะหมาด ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ ปีงบประมาณ 2561
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5307-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ ปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5307-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะจำนวน71 คน พบว่ามีปัญหาฟันน้ำนมผุเฉลี่ยคนละ 3 ซี่ ซึ่งสาเหตุของฟันผุเนื่องจากเด็กชอบรับประทานอาหารรสหวานอยู่เสมอ และผู้ปกครองยังขาดการเอาใจใส่ดูแลช่องปากและฟันของเด็กจึงทำให้เกิดปัญหาฟันน้ำนมผุ การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้วยังมีผลต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย คือ ฟันน้ำนมที่เสียถูกถอนหรือหลุดไปก่อนฟันแท้จะเกิดขึ้นแทนที่จะทำให้ฟันอยู่ติดกัน รวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่างทำให้ฟันแท้ที่จะเกิดขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติอาจจะขึ้นมาในลักษณะบิดซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็กซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าแสดงออกขาดความมั่นใจในตัวเอง การแก้ไข้ปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการอบรมให้ความรู้ การตรวจสุขภาพช่องปาก การให้สุขศึกษา บริการทันตกรรม การแปรงฟันที่ถูกวิธี การบำบัดรักษาการติดตาม ประเมินผล ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญในปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ให้มีฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 ส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนแปรงฟันหลังอาหาร
- 2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน
- 3 ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพฟันให้เด็กก่อนวัยเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การแปรงฟันที่ถูกวิธีเพื่อลดการปัญหานักเรียนฟันผุ
- กิจกรรมให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน
- ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพฟันในเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี
2 ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
3ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็กภายในศูนย์
4นักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
5 ชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน
วันที่ 27 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในศุนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะเรื่องการดูเเลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน ให้ความรู้เรื่องอาหารที่เสี่ยงต่อฟันผุ การเเปรงฟันที่ถูกวิธี การเเปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเเปรงฟันที่ถูกวิธีเเละการดูเเลสุขภาพช่องปากได้ถูกต้อง
50
0
2. การแปรงฟันที่ถูกวิธีเพื่อลดการปัญหานักเรียนฟันผุ
วันที่ 7 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารของนักเรียนภายในศูนย์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารของนักเรียนภายในศูนย์ การแปรงฟันที่ถูกวิธี การแปรงฟันอย่างน้อยวันละ2 ครั้ง
ปลูกฝังความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูเเลสุขภาพฟันให้เเก่นักเรียนในศูนย์ได้เเก่
-จัดบอร์ให้ความรู้
-จัดชั่งโมงการเรียน
-สาธิตการแปรงฟัน
จัดเมนูอาหารกลางโดยเฉลี่ยโดยเลี่ยงอาหารรสหวาน
50
0
3. ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพฟันในเด็กก่อนวัยเรียน
วันที่ 31 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจในการดูเเลฟันในเด็กก่อนวัยเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการจัดกิจกรรมการดูเเลสุขภาพในช่องปากและการทำเเบบบันทึกการแปรงฟัน
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.นักเรียนมีฟันสะอาดเเข็งเเรง รู้จักการเเปรงฟันที่ถูกวิธีเเละมีฟันผุน้อยลง
2.ผู้ปกครองมีความเข้าใจในเรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธีเเละการดูเเลสุขภาพช่องปาก
3.มีการจัดกิจกรรมการดูเเลสุขภาพในช่องปากเเละการทำเเบบบันทึกการแปรงฟัน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี
2.ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูเเลสุขภาพช่องปากเเละฟัน
3.ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีในการดูเเลความสะอาดของช่องปากเเละฟันของเด็กภายในศูนย์
4.นักเรียนได้รับการดูเเลสุขภาพช่องปากเเละฟันอย่างถูกวิธี
5.ชุมชนมีส่วนร่วมเเละส่งเสริมการดูเเลสุขภาพช่องปากเเละฟัน
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
ผู้ปกครองบางคนไม่ค่อยให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมการเเปรงฟันให้นักเรียนโดยการสานต่อจากที่ศูนย์
เเนวมางการเเก้ไข
ต้องให้ผู้ปกครองสานต่อการเเปรงฟันจากที่ศูนย์โดยการเเปรงฟันก่อนนอนทุกคืน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ให้มีฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 ส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนแปรงฟันหลังอาหาร
ตัวชี้วัด : 1 เด็กก่อนวัยเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหาร
2 นักเรียนในศูนย์มีฟันผุน้อยลงจากเดิมร้อยละ100
0.00
2
2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน
ตัวชี้วัด : 3 ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องร้อยละ80
0.00
3
3 ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพฟันให้เด็กก่อนวัยเรียน
ตัวชี้วัด : 4 เกิดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพในช่องปากอย่างน้อย 1 กิจกรรม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ให้มีฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 ส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนแปรงฟันหลังอาหาร (2) 2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน (3) 3 ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพฟันให้เด็กก่อนวัยเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การแปรงฟันที่ถูกวิธีเพื่อลดการปัญหานักเรียนฟันผุ (2) กิจกรรมให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน (3) ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพฟันในเด็กก่อนวัยเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5307-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางลาตียามะหมาด ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ ปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางลาตียามะหมาด ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5307-3-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ ปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5307-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะจำนวน71 คน พบว่ามีปัญหาฟันน้ำนมผุเฉลี่ยคนละ 3 ซี่ ซึ่งสาเหตุของฟันผุเนื่องจากเด็กชอบรับประทานอาหารรสหวานอยู่เสมอ และผู้ปกครองยังขาดการเอาใจใส่ดูแลช่องปากและฟันของเด็กจึงทำให้เกิดปัญหาฟันน้ำนมผุ การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้วยังมีผลต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย คือ ฟันน้ำนมที่เสียถูกถอนหรือหลุดไปก่อนฟันแท้จะเกิดขึ้นแทนที่จะทำให้ฟันอยู่ติดกัน รวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่างทำให้ฟันแท้ที่จะเกิดขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติอาจจะขึ้นมาในลักษณะบิดซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็กซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าแสดงออกขาดความมั่นใจในตัวเอง การแก้ไข้ปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการอบรมให้ความรู้ การตรวจสุขภาพช่องปาก การให้สุขศึกษา บริการทันตกรรม การแปรงฟันที่ถูกวิธี การบำบัดรักษาการติดตาม ประเมินผล ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญในปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ให้มีฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 ส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนแปรงฟันหลังอาหาร
- 2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน
- 3 ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพฟันให้เด็กก่อนวัยเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การแปรงฟันที่ถูกวิธีเพื่อลดการปัญหานักเรียนฟันผุ
- กิจกรรมให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน
- ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพฟันในเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 50 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี 2 ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน 3ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็กภายในศูนย์ 4นักเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี 5 ชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน |
||
วันที่ 27 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในศุนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะเรื่องการดูเเลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน ให้ความรู้เรื่องอาหารที่เสี่ยงต่อฟันผุ การเเปรงฟันที่ถูกวิธี การเเปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเเปรงฟันที่ถูกวิธีเเละการดูเเลสุขภาพช่องปากได้ถูกต้อง
|
50 | 0 |
2. การแปรงฟันที่ถูกวิธีเพื่อลดการปัญหานักเรียนฟันผุ |
||
วันที่ 7 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารของนักเรียนภายในศูนย์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารของนักเรียนภายในศูนย์ การแปรงฟันที่ถูกวิธี การแปรงฟันอย่างน้อยวันละ2 ครั้ง
|
50 | 0 |
3. ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพฟันในเด็กก่อนวัยเรียน |
||
วันที่ 31 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจในการดูเเลฟันในเด็กก่อนวัยเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการจัดกิจกรรมการดูเเลสุขภาพในช่องปากและการทำเเบบบันทึกการแปรงฟัน
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.นักเรียนมีฟันสะอาดเเข็งเเรง รู้จักการเเปรงฟันที่ถูกวิธีเเละมีฟันผุน้อยลง 2.ผู้ปกครองมีความเข้าใจในเรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธีเเละการดูเเลสุขภาพช่องปาก 3.มีการจัดกิจกรรมการดูเเลสุขภาพในช่องปากเเละการทำเเบบบันทึกการแปรงฟัน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี 2.ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูเเลสุขภาพช่องปากเเละฟัน 3.ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีในการดูเเลความสะอาดของช่องปากเเละฟันของเด็กภายในศูนย์ 4.นักเรียนได้รับการดูเเลสุขภาพช่องปากเเละฟันอย่างถูกวิธี 5.ชุมชนมีส่วนร่วมเเละส่งเสริมการดูเเลสุขภาพช่องปากเเละฟัน ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ผู้ปกครองบางคนไม่ค่อยให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมการเเปรงฟันให้นักเรียนโดยการสานต่อจากที่ศูนย์ เเนวมางการเเก้ไข ต้องให้ผู้ปกครองสานต่อการเเปรงฟันจากที่ศูนย์โดยการเเปรงฟันก่อนนอนทุกคืน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ให้มีฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 ส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนแปรงฟันหลังอาหาร ตัวชี้วัด : 1 เด็กก่อนวัยเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหาร 2 นักเรียนในศูนย์มีฟันผุน้อยลงจากเดิมร้อยละ100 |
0.00 |
|
||
2 | 2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน ตัวชี้วัด : 3 ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องร้อยละ80 |
0.00 |
|
||
3 | 3 ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพฟันให้เด็กก่อนวัยเรียน ตัวชี้วัด : 4 เกิดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพในช่องปากอย่างน้อย 1 กิจกรรม |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 50 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ให้มีฟันผุไม่เกินร้อยละ 50 ส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียนแปรงฟันหลังอาหาร (2) 2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน (3) 3 ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพฟันให้เด็กก่อนวัยเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การแปรงฟันที่ถูกวิธีเพื่อลดการปัญหานักเรียนฟันผุ (2) กิจกรรมให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพในช่องปากของบุตรหลาน (3) ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพฟันในเด็กก่อนวัยเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5307-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางลาตียามะหมาด ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกาเด๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......