โครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวเปมิกาสุวรรณจินดา เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขชำนาญงาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-1-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 128,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ฟันและอวัยวะในช่องปากเป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหารและมีความสำคัญสำหรับการติดต่อสื่อสารของผู้คนในสังคม ปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคของคนเปลี่ยนไป ในขณะที่ระบบบริการสุขภาพ และระบบพัฒนาคนยังไม่สามารถปรับตัวรองรับให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ทำให้เกิดโรคฟันผุในทุกกลุ่มวัยเพิ่มมากขึ้น
จากผลการดำเนินโครงการส่งเสริมป้องกันของงานทันตสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนเป็นอย่างดีจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลาตั้งแต่ปี 2557 – 2560 นั้น พบว่าเด็กแรกเกิด0 – 4 ปี ที่เข้ามารับวัคซีนในคลินิกเด็กดีปี 2558 – 2560 พบฟันน้ำนมผุเฉลี่ยร้อยละ32.49 36.17 และ3.30 ตามลำดับ พอเด็กโตขึ้นมาในช่วงกลุ่มอายุ 3 – 6 ปี ที่อยู่ในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนก็จะมีฟันผุเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 39.41 40.17 และ41.11ตามลำดับ และเด็กที่มีฟันน้ำนมผุย่อมส่งผลไปถึงฟันแท้ของเด็กจะมีโอกาสผุได้มากกว่าเด็กที่ไม่มีฟันน้ำนมผุ
จากผลการสำรวจเด็กกลุ่มวัยเรียนอายุ 6 – 12 ปี พบเด็กนักเรียนที่มีฟันน้ำนมและฟันแท้ผุเฉลี่ยร้อยละ52.19 54.79 และ50.31 ตามลำดับ และกลุ่มที่สำคัญอีกกลุ่มคือหญิงมีครรภ์เพราะหญิงมีครรภ์ที่สามารถถ่ายทอดเชื้อโรคจากช่องปากไปสู่ลูกได้จึงต้องมีการดูแลเป็นพิเศษ จากผลการสำรวจพบหญิงมีครรภ์ในเขตเทศบาลนครสงขลามีฟันผุเฉลี่ยร้อยละ 45.98 44.17 และ24.76 ตามลำดับ ส่วนกลุ่มสุดท้ายคือกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปพบฟันผุเฉลี่ยร้อยละ 69.74 67.17 และ44.52 ตามลำดับ ในส่วนของกลุ่มพิเศษคือผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงนั้นย่อมมีโอกาสเสี่ยงเป็นอย่างมากต่อการเกิดโรคฟันผุและผลจากการสำรวจในปีล่าสุดคือปี 2560 ที่เพิ่งได้รับงบประมาณนั้นพบฟันผุถึงร้อยละ 74.75
งานทันตสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ได้ตระหนักถึงปัญหาด้านสุขภาพช่องปากของชาวบ่อยาง จึงได้จัดทำโครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้นมาโดยให้ภาคีเครือข่ายส่วนต่างๆได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆเพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชน ชุมชน ในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา และระบบบริการให้ประชาชนมีพฤติกรรมทันตสุขภาพที่ดี สามารถเข้าถึงบริการทันตกรรมเพิ่มมากขึ้น และยังมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสุขภาพชุมชนให้ยั่งยืนต่อไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 2.1 เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุและการสูญเสียฟันไปก่อนวัยอันสมควรของประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขต
- 2.2 เพื่อสร้างความร่วมมือและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนของภาคีเครือข่ายให้เกิดการ
- 2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชน และชุมชนให้สามารถจัดการปัญหาสุขภาพช่องปาก โดยการจัดอบรม
- 2.4 เพื่อพัฒนาระบบบริการที่มีคุณภาพ และครอบคลุมประชากรกลุ่มเป้าหมายที่เพิ่มมากขึ้น
- 2.5 เพื่อสร้างกระแสการแปรงฟันให้เกิดขึ้นภายในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
482
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
1,590
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
840
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
150
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
9.1 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากพร้อมได้รับคำแนะนำ
อย่างถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปาก
9.2 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพ
ช่องปากของตนเองและคนในครอบครัวเพื่อสร้างพฤติกรรมและเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก
เกิดความยั่งยืนต่อไปในอนาคต
9.3 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับบริการทันตกรรมที่ครอบคลุม ภายใต้ชุดสิทธิ
ประโยชน์หลักประกันสุขภาพ
9.4 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลามีจำนวนฟันผุที่ลดลง และมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ขั้นเตรียมการ
3.1 สำรวจข้อมูลจำนวนกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลา
3.2 เขียนโครงการและกำหนดแผนปฏิบัติงานให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายเพื่อขออนุมัติจัดทำโครงการ
3.3 ประชุมชี้แจงติดต่อประสานงาน เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในเขตเทศบาลนครสงขลาเพื่อ
ทำความเข้าใจที่ตรงกันสะดวกต่อการสร้างภาคีเครือข่าย
3.4 เตรียมข้อมูล เอกสารต่างๆและวัสดุอุปกรณ์ นวัตกรรมในการจัดทำโครงการ
ขั้นดำเนินการ
กิจกรรมลูกรักฟันดี เริ่มที่ซี่แรก เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. ตรวจสุขภาพช่องปากและประเมินความเสี่ยงการเกิดโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยจากคลินิกสุขภาพเด็กดี ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลนครสงขลาทั้ง 2 แห่ง
2. ให้ความรู้โดยใช้สื่อและอุปกรณ์เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมโดยเน้นย้ำการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
3. ให้บริการทันตกรรมเบื้องต้น คือ การทาฟลูออไรด์วานิช การเคลือบฟลูออไรด์เจล ติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและเฝ้าระวังการเกิดโรคฟันผุที่อาจลุกลามซึ่งยากต่อการรักษา และหากมีรอยโรคดำเนินไปแล้ว จะนัดให้มารักษาที่เหมาะสมต่อไป
กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในเด็กก่อนวัยเรียน เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. ตรวจฟันเด็กโดยทันตบุคลากรปีละ 2 ครั้ง (เดือนพฤษภาคม 2561 , กันยายน 2561)
2. จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการทางทันตสุขภาพของเด็กก่อนวัยเรียน แก่ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก
3. จัดบริการทันตกรรมตามสภาวะช่องปาก , เคลือบฟลูออไรด์วานิช
4. จัดผลไม้เป็นอาหารว่างสำหรับเด็กสัปดาห์ละ 3 – 5 วัน
5. สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน
กิจกรรมสุขภาพดีเริ่มที่ช่องปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. ตรวจฟันเด็กโดยทันตบุคลากรปีละ 2 ครั้ง (เดือนพฤษภาคม 2561 , กันยายน 2561)
2. จัดบริการทันตกรรมตามสภาวะช่องปาก , เคลือบฟลูออไรด์วานิช , อุดฟันแบบ SMRT TECHNIC
กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพเด็กชั้น ป1 – ป6 เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. ตรวจฟันนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนในเขตเทศบาลนครสงขลาทั้ง 9 โรงเรียน
2. แจกผลการตรวจสุขภาพช่องปากแก่นักเรียนทุกคน เพื่อให้นักเรียนทุกคนและผู้ปกครองได้รับทราบถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของบุตรหลาน และนำบุตรหลานมารับการรักษาสุขภาพช่องปากได้ทันท่วงทีก่อนที่โรคฟันผุจะลุกลามมากขึ้นกว่าเดิม
3. ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีแก่นักเรียนที่มีฟันผุในเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ในโรงเรียนในเขตเทศบาลนครสงขลาทั้ง 9 โรงเรียน จำนวน 1,590 คน
4. ติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน สถานที่แปรงฟัน อุปกรณ์การแปรงฟันทั้ง 9 โรงเรียนในเขตรับผิดชอบเทศบาลนครสงขลา
กิจกรรมคุณแม่ยุคใหม่ ใส่ใจฟันสวย เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. หญิงมีครรภ์ที่มารับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี
2. ตรวจสุขภาพช่องปากหญิงมีครรภ์อย่างละเอียดพร้อมบันทึกข้อมูลนำผลที่ได้มาวางแผนการรักษาได้อย่างต่อเนื่อง
3. นัดหญิงมีครรภ์มาที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากและอายุครรภ์ที่สามารถรับบริการทันตกรรมได้คือ
(อายุครรภ์ 4 – 6 เดือน) มารับบริการทันตกรรมจนมีสุขภาพช่องปากที่ดี
4. มีการเยี่ยมหลังคลอดหญิงมีครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการ
5. ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของคุณแม่หลังคลอดและช่องปากของเด็กแรกคลอด
6. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมพัฒนาระบบการดูแลทันตสุขภาพผู้พิการเริ่มต้นที่ช่องปาก เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. เยี่ยมบ้านผู้พิการและคนไข้ติดเตียงพร้อมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีกับผู้ดูแล
2. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมผู้สูงอายุยิ้มสวยสมวัย ใส่ใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. จัดกิจกรรม ณ. ชมรมผู้สูงอายุทุกชมรมในเขตเทศบาลนครสงขลา โดยให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกวิธีเพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี และผู้สูงอายุที่มารับบริการ ณ. ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง, ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ, PCU ใจกลาง, PCU พาณิชย์สร้างสุข, PCU กุโบร์ร่วมใจ, PCU สมิหรา, และ PCU ชลาทัศน์ โดยการ ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากในวัยผู้สูงอายุพร้อมทั้งสอนการแปรงฟันที่ ถูกวิธีให้ผู้สูงอายุ
2. แนะนำและนัดผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากทุกคนมารับบริการทันตกรรมอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
2.1 เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุและการสูญเสียฟันไปก่อนวัยอันสมควรของประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขต
ตัวชี้วัด : 3.1 อัตราการเกิดโรคฟันผุของประชากรทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาลดลงร้อยละ 2
2.00
ร้อยละ15.71
(จากตารางที่13)
ร้อยละ100
(จากตารางที่15)
2
2.2 เพื่อสร้างความร่วมมือและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนของภาคีเครือข่ายให้เกิดการ
ตัวชี้วัด : 3.2 หน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในเขตเทศบาลนครสงขลามีส่วนร่วมในการช่วยกันขับเคลื่อน
สังคมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลา
ร้อยละ100
100.00
ร้อยละ96.39
(จากตารางที่16)
ร้อยละ100
(จากตารางที่3)
3
2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชน และชุมชนให้สามารถจัดการปัญหาสุขภาพช่องปาก โดยการจัดอบรม
ตัวชี้วัด : 3.3 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง
และการแปรงฟันที่ถูกวิธีร้อยละ 60
3.3.1 ผู้ดูแลเด็กที่พาเด็กมารับวัคซีนในคลินิกเด็กดี ณ.ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครสงขลา
ทั้ง 2 แห่งได้รับความรู้เรื่องการแปรงฟันให้เด็กและการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กแรกเกิดถึง
4ปีอย่างถูกวิธีร้อยละ 80
3.3.2 ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียน ครูผู้ดูแลเด็ก เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการสอนแปรงฟันและการ
ดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กอย่างถูกวิธี ร้อยละ 80
3.3.3 เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง
อย่างถูกวิธีร้อยละ 50
3.3.4 หญิงมีครรภ์ในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องตนเองและลูก
ได้อย่างถูกวิธีร้อยละ 60
3.3.5 หญิงมีครรภ์ได้รับการเยี่ยมหลังคลอดและให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากลูกร้อยละ 60
3.3.6 ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองและ
การดูแลฟันปลอมร้อยละ 80
0.00
ร้อยละ10
(จากตารางที่4)
ร้อยละ100
(จากตารางที่10)
4
2.4 เพื่อพัฒนาระบบบริการที่มีคุณภาพ และครอบคลุมประชากรกลุ่มเป้าหมายที่เพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : 3.4 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับบริการทันตกรรมที่มีคุณภาพและครอบคลุม
ร้อยละ 50
3.4.1 เด็กแรกเกิด – 4 ปีที่มารับวัคซีนคลินิกเด็กดี ณ.ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนคร
สงขลาทั้ง 2 แห่งได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 60
3.4.2 เด็กก่อนวัยเรียนในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก การทา
ฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 80
3.4.3 เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับบริการทาฟลูออไรด์วานิช การเคลือบหลุม
ร่องฟัน การขูดหินน้ำลาย การอุดฟัน การถอนฟัน ร้อยละ 40
3.4.4 หญิงมีครรภ์ในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับบริการทันตกรรม เช่น การขูดหินน้ำลาย การ
อุดฟัน การถอนฟัน ร้อยละ40
3.4.5 ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช การขูดหินน้ำลาย การอุด
ฟัน การถอนฟัน ร้อยละ 40
80.00
ร้อยละ90.67
(จากตารางที่11)
ร้อยละ70.60
(จากตารางที่11)
ร้อยละ90.67
(จากตารางที่12)
ร้อยละ77.50
(จากตารางที่11)
ร้อยละ91.11
(จากตารางที่3)
ร้อยละ85.03
(จากตารางที่4)
ร้อยละ49.81
(จากตารางที่10)
ร้อยละ90.44
(จากตารางที่11
5
2.5 เพื่อสร้างกระแสการแปรงฟันให้เกิดขึ้นภายในชุมชน
ตัวชี้วัด : 3.5 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากของ
ตนเองเกิดเป็นการรวมกลุ่มแปรงฟันหลังอาหารกลางวันร้อยละ 50
3.5.1 ผู้ดูแลเด็กแรกเกิด – 4 ปีแปรงฟันหลังอาหารกลางวันให้เด็กร้อยละ 50
3.5.2 โรงเรียนจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันให้เด็กก่อนวัยเรียนร้อยละ 100
3.5.3 โรงเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 – 6 จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
ร้อยละ100
40.00
ร้อยละ71.13
(จากตารางที่12)
ร้อยละ96.23
(จากตารางที่18)
ร้อยละ84.90
(จากตารางที่3)
ร้อยละ100
(จากตารางที่15)
ร้อยละ100
(จากตารางที่15)
ร้อยละ100
(จากตารางที่12)
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
3062
3062
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
482
482
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
1,590
1,590
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
840
840
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
150
150
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุและการสูญเสียฟันไปก่อนวัยอันสมควรของประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขต (2) 2.2 เพื่อสร้างความร่วมมือและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนของภาคีเครือข่ายให้เกิดการ (3) 2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชน และชุมชนให้สามารถจัดการปัญหาสุขภาพช่องปาก โดยการจัดอบรม (4) 2.4 เพื่อพัฒนาระบบบริการที่มีคุณภาพ และครอบคลุมประชากรกลุ่มเป้าหมายที่เพิ่มมากขึ้น (5) 2.5 เพื่อสร้างกระแสการแปรงฟันให้เกิดขึ้นภายในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวเปมิกาสุวรรณจินดา เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขชำนาญงาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวเปมิกาสุวรรณจินดา เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขชำนาญงาน
กันยายน 2561
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-1-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 128,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ฟันและอวัยวะในช่องปากเป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหารและมีความสำคัญสำหรับการติดต่อสื่อสารของผู้คนในสังคม ปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคของคนเปลี่ยนไป ในขณะที่ระบบบริการสุขภาพ และระบบพัฒนาคนยังไม่สามารถปรับตัวรองรับให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ทำให้เกิดโรคฟันผุในทุกกลุ่มวัยเพิ่มมากขึ้น
จากผลการดำเนินโครงการส่งเสริมป้องกันของงานทันตสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนเป็นอย่างดีจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลาตั้งแต่ปี 2557 – 2560 นั้น พบว่าเด็กแรกเกิด0 – 4 ปี ที่เข้ามารับวัคซีนในคลินิกเด็กดีปี 2558 – 2560 พบฟันน้ำนมผุเฉลี่ยร้อยละ32.49 36.17 และ3.30 ตามลำดับ พอเด็กโตขึ้นมาในช่วงกลุ่มอายุ 3 – 6 ปี ที่อยู่ในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนก็จะมีฟันผุเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 39.41 40.17 และ41.11ตามลำดับ และเด็กที่มีฟันน้ำนมผุย่อมส่งผลไปถึงฟันแท้ของเด็กจะมีโอกาสผุได้มากกว่าเด็กที่ไม่มีฟันน้ำนมผุ
จากผลการสำรวจเด็กกลุ่มวัยเรียนอายุ 6 – 12 ปี พบเด็กนักเรียนที่มีฟันน้ำนมและฟันแท้ผุเฉลี่ยร้อยละ52.19 54.79 และ50.31 ตามลำดับ และกลุ่มที่สำคัญอีกกลุ่มคือหญิงมีครรภ์เพราะหญิงมีครรภ์ที่สามารถถ่ายทอดเชื้อโรคจากช่องปากไปสู่ลูกได้จึงต้องมีการดูแลเป็นพิเศษ จากผลการสำรวจพบหญิงมีครรภ์ในเขตเทศบาลนครสงขลามีฟันผุเฉลี่ยร้อยละ 45.98 44.17 และ24.76 ตามลำดับ ส่วนกลุ่มสุดท้ายคือกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปพบฟันผุเฉลี่ยร้อยละ 69.74 67.17 และ44.52 ตามลำดับ ในส่วนของกลุ่มพิเศษคือผู้พิการและผู้ป่วยติดเตียงนั้นย่อมมีโอกาสเสี่ยงเป็นอย่างมากต่อการเกิดโรคฟันผุและผลจากการสำรวจในปีล่าสุดคือปี 2560 ที่เพิ่งได้รับงบประมาณนั้นพบฟันผุถึงร้อยละ 74.75
งานทันตสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา ได้ตระหนักถึงปัญหาด้านสุขภาพช่องปากของชาวบ่อยาง จึงได้จัดทำโครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้นมาโดยให้ภาคีเครือข่ายส่วนต่างๆได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆเพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชน ชุมชน ในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา และระบบบริการให้ประชาชนมีพฤติกรรมทันตสุขภาพที่ดี สามารถเข้าถึงบริการทันตกรรมเพิ่มมากขึ้น และยังมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสุขภาพชุมชนให้ยั่งยืนต่อไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 2.1 เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุและการสูญเสียฟันไปก่อนวัยอันสมควรของประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขต
- 2.2 เพื่อสร้างความร่วมมือและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนของภาคีเครือข่ายให้เกิดการ
- 2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชน และชุมชนให้สามารถจัดการปัญหาสุขภาพช่องปาก โดยการจัดอบรม
- 2.4 เพื่อพัฒนาระบบบริการที่มีคุณภาพ และครอบคลุมประชากรกลุ่มเป้าหมายที่เพิ่มมากขึ้น
- 2.5 เพื่อสร้างกระแสการแปรงฟันให้เกิดขึ้นภายในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 482 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 1,590 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 840 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 150 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
9.1 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากพร้อมได้รับคำแนะนำ อย่างถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปาก 9.2 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพ ช่องปากของตนเองและคนในครอบครัวเพื่อสร้างพฤติกรรมและเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก เกิดความยั่งยืนต่อไปในอนาคต 9.3 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับบริการทันตกรรมที่ครอบคลุม ภายใต้ชุดสิทธิ ประโยชน์หลักประกันสุขภาพ 9.4 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลามีจำนวนฟันผุที่ลดลง และมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ขั้นเตรียมการ
3.1 สำรวจข้อมูลจำนวนกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลา
3.2 เขียนโครงการและกำหนดแผนปฏิบัติงานให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายเพื่อขออนุมัติจัดทำโครงการ
3.3 ประชุมชี้แจงติดต่อประสานงาน เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในเขตเทศบาลนครสงขลาเพื่อ
ทำความเข้าใจที่ตรงกันสะดวกต่อการสร้างภาคีเครือข่าย
3.4 เตรียมข้อมูล เอกสารต่างๆและวัสดุอุปกรณ์ นวัตกรรมในการจัดทำโครงการ
ขั้นดำเนินการ
กิจกรรมลูกรักฟันดี เริ่มที่ซี่แรก เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. ตรวจสุขภาพช่องปากและประเมินความเสี่ยงการเกิดโรคฟันผุในเด็กปฐมวัยจากคลินิกสุขภาพเด็กดี ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลนครสงขลาทั้ง 2 แห่ง
2. ให้ความรู้โดยใช้สื่อและอุปกรณ์เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมโดยเน้นย้ำการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
3. ให้บริการทันตกรรมเบื้องต้น คือ การทาฟลูออไรด์วานิช การเคลือบฟลูออไรด์เจล ติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากและเฝ้าระวังการเกิดโรคฟันผุที่อาจลุกลามซึ่งยากต่อการรักษา และหากมีรอยโรคดำเนินไปแล้ว จะนัดให้มารักษาที่เหมาะสมต่อไป
กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในเด็กก่อนวัยเรียน เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. ตรวจฟันเด็กโดยทันตบุคลากรปีละ 2 ครั้ง (เดือนพฤษภาคม 2561 , กันยายน 2561)
2. จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการทางทันตสุขภาพของเด็กก่อนวัยเรียน แก่ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก
3. จัดบริการทันตกรรมตามสภาวะช่องปาก , เคลือบฟลูออไรด์วานิช
4. จัดผลไม้เป็นอาหารว่างสำหรับเด็กสัปดาห์ละ 3 – 5 วัน
5. สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน
กิจกรรมสุขภาพดีเริ่มที่ช่องปาก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. ตรวจฟันเด็กโดยทันตบุคลากรปีละ 2 ครั้ง (เดือนพฤษภาคม 2561 , กันยายน 2561)
2. จัดบริการทันตกรรมตามสภาวะช่องปาก , เคลือบฟลูออไรด์วานิช , อุดฟันแบบ SMRT TECHNIC
กิจกรรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพเด็กชั้น ป1 – ป6 เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. ตรวจฟันนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 โรงเรียนในเขตเทศบาลนครสงขลาทั้ง 9 โรงเรียน
2. แจกผลการตรวจสุขภาพช่องปากแก่นักเรียนทุกคน เพื่อให้นักเรียนทุกคนและผู้ปกครองได้รับทราบถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของบุตรหลาน และนำบุตรหลานมารับการรักษาสุขภาพช่องปากได้ทันท่วงทีก่อนที่โรคฟันผุจะลุกลามมากขึ้นกว่าเดิม
3. ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีแก่นักเรียนที่มีฟันผุในเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ในโรงเรียนในเขตเทศบาลนครสงขลาทั้ง 9 โรงเรียน จำนวน 1,590 คน
4. ติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน สถานที่แปรงฟัน อุปกรณ์การแปรงฟันทั้ง 9 โรงเรียนในเขตรับผิดชอบเทศบาลนครสงขลา
กิจกรรมคุณแม่ยุคใหม่ ใส่ใจฟันสวย เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. หญิงมีครรภ์ที่มารับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธี
2. ตรวจสุขภาพช่องปากหญิงมีครรภ์อย่างละเอียดพร้อมบันทึกข้อมูลนำผลที่ได้มาวางแผนการรักษาได้อย่างต่อเนื่อง
3. นัดหญิงมีครรภ์มาที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากและอายุครรภ์ที่สามารถรับบริการทันตกรรมได้คือ
(อายุครรภ์ 4 – 6 เดือน) มารับบริการทันตกรรมจนมีสุขภาพช่องปากที่ดี
4. มีการเยี่ยมหลังคลอดหญิงมีครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการ
5. ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของคุณแม่หลังคลอดและช่องปากของเด็กแรกคลอด
6. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมพัฒนาระบบการดูแลทันตสุขภาพผู้พิการเริ่มต้นที่ช่องปาก เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. เยี่ยมบ้านผู้พิการและคนไข้ติดเตียงพร้อมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกวิธีกับผู้ดูแล
2. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรมผู้สูงอายุยิ้มสวยสมวัย ใส่ใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561
1. จัดกิจกรรม ณ. ชมรมผู้สูงอายุทุกชมรมในเขตเทศบาลนครสงขลา โดยให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกวิธีเพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี และผู้สูงอายุที่มารับบริการ ณ. ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง, ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ, PCU ใจกลาง, PCU พาณิชย์สร้างสุข, PCU กุโบร์ร่วมใจ, PCU สมิหรา, และ PCU ชลาทัศน์ โดยการ ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากในวัยผู้สูงอายุพร้อมทั้งสอนการแปรงฟันที่ ถูกวิธีให้ผู้สูงอายุ
2. แนะนำและนัดผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากทุกคนมารับบริการทันตกรรมอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 2.1 เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุและการสูญเสียฟันไปก่อนวัยอันสมควรของประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขต ตัวชี้วัด : 3.1 อัตราการเกิดโรคฟันผุของประชากรทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาลดลงร้อยละ 2 |
2.00 | ร้อยละ15.71 (จากตารางที่13) ร้อยละ100 (จากตารางที่15) |
||
2 | 2.2 เพื่อสร้างความร่วมมือและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนของภาคีเครือข่ายให้เกิดการ ตัวชี้วัด : 3.2 หน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในเขตเทศบาลนครสงขลามีส่วนร่วมในการช่วยกันขับเคลื่อน สังคมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลา ร้อยละ100 |
100.00 | ร้อยละ96.39 (จากตารางที่16) ร้อยละ100 (จากตารางที่3) |
||
3 | 2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชน และชุมชนให้สามารถจัดการปัญหาสุขภาพช่องปาก โดยการจัดอบรม ตัวชี้วัด : 3.3 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง และการแปรงฟันที่ถูกวิธีร้อยละ 60 3.3.1 ผู้ดูแลเด็กที่พาเด็กมารับวัคซีนในคลินิกเด็กดี ณ.ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนครสงขลา ทั้ง 2 แห่งได้รับความรู้เรื่องการแปรงฟันให้เด็กและการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กแรกเกิดถึง 4ปีอย่างถูกวิธีร้อยละ 80 3.3.2 ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียน ครูผู้ดูแลเด็ก เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการสอนแปรงฟันและการ ดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กอย่างถูกวิธี ร้อยละ 80 3.3.3 เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง อย่างถูกวิธีร้อยละ 50 3.3.4 หญิงมีครรภ์ในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องตนเองและลูก ได้อย่างถูกวิธีร้อยละ 60 3.3.5 หญิงมีครรภ์ได้รับการเยี่ยมหลังคลอดและให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากลูกร้อยละ 60 3.3.6 ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองและ การดูแลฟันปลอมร้อยละ 80 |
0.00 | ร้อยละ10 (จากตารางที่4) ร้อยละ100 (จากตารางที่10) |
||
4 | 2.4 เพื่อพัฒนาระบบบริการที่มีคุณภาพ และครอบคลุมประชากรกลุ่มเป้าหมายที่เพิ่มมากขึ้น ตัวชี้วัด : 3.4 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับบริการทันตกรรมที่มีคุณภาพและครอบคลุม ร้อยละ 50 3.4.1 เด็กแรกเกิด – 4 ปีที่มารับวัคซีนคลินิกเด็กดี ณ.ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลนคร สงขลาทั้ง 2 แห่งได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 60 3.4.2 เด็กก่อนวัยเรียนในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก การทา ฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 80 3.4.3 เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้รับบริการทาฟลูออไรด์วานิช การเคลือบหลุม ร่องฟัน การขูดหินน้ำลาย การอุดฟัน การถอนฟัน ร้อยละ 40 3.4.4 หญิงมีครรภ์ในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับบริการทันตกรรม เช่น การขูดหินน้ำลาย การ อุดฟัน การถอนฟัน ร้อยละ40 3.4.5 ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช การขูดหินน้ำลาย การอุด ฟัน การถอนฟัน ร้อยละ 40 |
80.00 | ร้อยละ90.67 (จากตารางที่11) ร้อยละ70.60 (จากตารางที่11) ร้อยละ90.67 (จากตารางที่12) ร้อยละ77.50 (จากตารางที่11) ร้อยละ91.11 (จากตารางที่3) ร้อยละ85.03
(จากตารางที่4) ร้อยละ90.44 (จากตารางที่11 |
||
5 | 2.5 เพื่อสร้างกระแสการแปรงฟันให้เกิดขึ้นภายในชุมชน ตัวชี้วัด : 3.5 ประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตเทศบาลนครสงขลาตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากของ ตนเองเกิดเป็นการรวมกลุ่มแปรงฟันหลังอาหารกลางวันร้อยละ 50 3.5.1 ผู้ดูแลเด็กแรกเกิด – 4 ปีแปรงฟันหลังอาหารกลางวันให้เด็กร้อยละ 50 3.5.2 โรงเรียนจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันให้เด็กก่อนวัยเรียนร้อยละ 100 3.5.3 โรงเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 1 – 6 จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ร้อยละ100 |
40.00 | ร้อยละ71.13
(จากตารางที่12)
ร้อยละ96.23
(จากตารางที่18) |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 3062 | 3062 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 482 | 482 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 1,590 | 1,590 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 840 | 840 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 150 | 150 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุและการสูญเสียฟันไปก่อนวัยอันสมควรของประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขต (2) 2.2 เพื่อสร้างความร่วมมือและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนของภาคีเครือข่ายให้เกิดการ (3) 2.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชน และชุมชนให้สามารถจัดการปัญหาสุขภาพช่องปาก โดยการจัดอบรม (4) 2.4 เพื่อพัฒนาระบบบริการที่มีคุณภาพ และครอบคลุมประชากรกลุ่มเป้าหมายที่เพิ่มมากขึ้น (5) 2.5 เพื่อสร้างกระแสการแปรงฟันให้เกิดขึ้นภายในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชาวบ่อยางยิ้มสวยสดใส มั่นใจฟันดี เทศบาลนครสงขลา ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7250-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวเปมิกาสุวรรณจินดา เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขชำนาญงาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......