กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรค เข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพ โดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT)
ตัวชี้วัด : - ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT) โดยแกนนำเครือข่ายวัณโรคในชุมชน ร้อยละ 100
40.00

 

 

 

2 2. เพื่อให้ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค ได้รับความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกัน
ตัวชี้วัด : - ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ของผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค ได้รับความรู้เรื่องการปฏิบัติตัว ที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยวัณโรคในบ้านเดียวกันโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
20.00

 

 

 

3 3. เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และผู้ป่วยเป็นซ้ำ ได้รับการรักษาครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด
ตัวชี้วัด : - ตัวชี้วัดความสำเร็จ อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ 85
45.00