กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561 ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเอมอรไชยมงคลผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข

ชื่อโครงการ โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7250-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 31 ตุลาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7250-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 31 ตุลาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมสูงอายุ” (Aged Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ กล่าวคือ มีประชากรอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๑๐ ของประชากรทั้งประเทศ และเพิ่มเป็นร้อยละ ๑๕ ของประชากรทั้งประเทศเมื่อสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่ผ่านมา คาดว่าประเทศไทยจะมีประชากรสูงอายุสูงถึงร้อยละ ๒๐ ใน พ.ศ.๒๕๖๔ กลายเป็น “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” (complete aged society) จาการสำรวจของกรมอนามัย (๒๕๕๖) พบว่าผู้สูงอายุร้อยละ ๙๕ เจ็บป่วยด้วยโรคใดโรคหนึ่ง ส่วนใหญ่เป็นโรคเรื้อรังซึ่งจะนำไปสู่ภาวะทุพพลภาพและพึ่งพิง และมีผู้ป่วยนอนติดเตียงร้อยละ ๑นอกจากนั้นยังพบว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงระดับสูงแต่ต้องดูแลตนเองหรือไม่มีคนดูแลถึงร้อยละ ๑๓ ในกลุ่มเดียวกัน รัฐบาลจึงให้ความสำคัญในการดำเนินการเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ มีเป้าหมายสำคัญที่จะป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุที่ยังแข็งแรงมีการเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิง และหากผู้สูงอายุอยู่ในภาวะพึ่งพิงจะได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม โดยรัฐบาลได้สนับสนุนงบประมาณให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจัดให้มีบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขแก่ผู้สูงอายุที่ภาวะพึ่งพิง โดยใช้ท้องถิ่นและชุมชนเป็นฐานในการจัดการดูแล ซึ่ง สปสช. ได้สนับสนุนค่าใช้จ่ายผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลนครสงขลา ข้อมูลกลางปี 2560 งานทะเบียนราษฎร์ เทศบาลนครสงขลา ประชากรในเขตเทศบาลนครสงขลา ทั้งหมด 64,138 คนพบว่ามีผู้สูงอายุจำนวน 10,195 คน คิดเป็นร้อยละ 15.9 ของประชากรจากการตรวจประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอลโดยหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่ พบผู้สูงอายุที่มีคะแนนเอดีแอลเท่ากับหรือน้อยกว่า ๑๑ คะแนน (ติดบ้าน ติดเตียง) จำนวน 74 คน เป็นกลุ่มที่ ๑ (เคลื่อนไหวได้บ้างมีปัญหาการกิน/การขับถ่ายแต่ไม่มีภาวะสับสน) จำนวน 23 คน กลุ่มที่ ๒ (เคลื่อนไหวได้บ้างมีภาวะสับสน และอาจมีปัญหาการกิน/การขับถ่าย) จำนวน ๕ คน กลุ่มที่ ๓ (เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน/การขับถ่ายหรือเจ็บป่วยรุนแรง) จำนวน 45 คน และกลุ่มที่ ๔ (เคลื่อนไหวเองไม่ได้ เจ็บป่วยรุนแรงหรืออยู่ในระยะท้ายของชีวิต) จำนวน 1 คน ผู้สูงอายุเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือทั้งด้านบริการสาธารณสุขและด้านสังคม โดยเฉพาะกลุ่มติดเตียง (กลุ่มที่ ๓ และ ๔) ถึงแม้จะมีคนในครอบครัวดูแล แต่ก็เป็นภาระของผู้ดูแลไม่น้อย ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ร่วมมือกับหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่จัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จึงได้จัดทำโครงการจัดบริการดูแลระยะยาวฯ สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง โดยมีผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข (CM) และผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (CG) ไปบริการดูแลด้านสาธารณสุขเชิงรุกที่ครัวเรือน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา ได้รับการบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขตามแผนการดูแลรายบุคคล (CP) โดยบุคลากรที่เกี่ยวข้องและผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ณ ที่ครัวเรือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 74
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ เทศบาลสงขลา จะมีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข ลดภาระในการดูแลของครอบครัว


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผู้สูงอายุย้ายออกนอกพื้นที่ 1 คน ได้แก่
    1. นางกิ้มพงศ์ สุชาดา ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ผู้เสียชีวิต จำนวน 30  คน ได้แก่
    1. นางนิภา  ประมวลศิลป์ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา 2. น.ส.กาญจนา  สุขแสงชู ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา 3. นางจวน  ทองจำนงค์ ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา 4. นางเจ๊ะม๊ะ แสงบัวหมัด ศูนย์สุขภาพชุมชนใจกลางเมือง 5. นายประพันธ์  บุญพันธ์ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 6. นางอุษา  พนอำพน ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 7. นางกิ้มซิ้น  กิ้มเส้ง ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 8. นายเสวียง  เพ็งสุริยา ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 9. นางสาวกิราวรรณ อังสุพานิช ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 10. นายมานพ ศรีสุนทรโวหาร  ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 11. นายนำ เกตุแก้ว ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 12. นางพรรณี ธรรมจันทร์ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 13. นายวิจิตร เทพโอสถ  ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข 14. นางสาวพรั่ง เพ็ชรนิล  ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข 15. นางหนูพัว  ประยืนยง ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ 16. นางพุม    หนูแสง      ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 17. นายสงบ    สมมุติ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 18. นางเหรียม  มะหะพันธุ์ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 19. นางจำเนียร  ดิสสระพงษ์ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 20. นายอุทิศ  สุขสีทอง ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 21. นางสมบูรณ์ หนูเจริญ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 22. นางสงวน  สุขศิริ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 23. นางภัทรานันท์  หิรัญสาลี ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 24. นายเติม  บุญศิริ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 25. นางเอี้ยน พรหมสมบัติ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 26. นายตุ้ย จิตต์โสภา ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 27. นางอารีย์ สุวรรณรัตน์ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 28. นางนิตย์  จันทรัตน์ ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ 29. นายสนิท  คงยัง ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ 30. นางฉ้วน  ธรรมสุโข ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ผู้สูงอายุรายใหม่ที่จัดบริการดูแลทดแทนรายเก่าที่เสียชีวิต จำนวน 17 คน ได้แก่ 1. นายสมนึก  พสุนธราธรรม ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 2. นางยาลอ  เทวมิตร ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 3. นายนำ เกตุแก้ว ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ ( เสียชีวิต ) 4. นางกิ้มพงศ์ สุชาดา ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ (ย้ายออกนอกพื้นที่) 5. นางเขียว  สุวรรณโชติ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์
    6. นางขุ้ยยวด  สุวรรณโณ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 7. นายอนันต์  สุวรรณโณ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ 8. นายเสรี  สุขจันทร์ ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข 9. นายเติม บุญศิริ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ( เสียชีวิต ) 10. นางสาวประกอบ  หิรัญสาย ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 11. นายเตียวปัง  ตรีวรรณจุฑา ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 12. นางเอี้ยน  พรหมสมบัติ  ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ( เสียชีวิต ) 13. นายตุ้ย  จิตต์โสภา ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ( เสียชีวิต ) 14. นางนิภา  แจ่มศิลป์ ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง 15. นางอิ่ม  จันทสะโร ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ 16. นางสนิท  อินทรสูต ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ 17. นางอุบล  ขุนราช ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ งบประมาณที่ใช้ดำเนินงาน
    จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงตามข้อเสนอ จำนวน 74 คน งบประมาณทีได้จัดสรร     1. กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 320,00 บาท     2. กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา      จำนวน 50,000 บาท งบประมาณทีใช้จริง จำนวน 321,829 บาท แยกเป็น
        1. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของ Care giver  จำนวน 188,650 บาท
    - ประจำเดือนพฤศจิกายน, ธันวาคม 2560 จำนวน 31,220 บาท - ประจำเดือนมกราคม 2561 จำนวน 14,980 บาท - ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561 จำนวน 16,730 บาท - ประจำเดือนมีนาคม, เมษายน, พฤษภาคม 2561 จำนวน 47,040 บาท - ประจำเดือนมิถุนายน, กรกฎาคม 2561 จำนวน 31,920 บาท - ประจำเดือนสิงหาคม, กันยายน 2561 จำนวน 31,850 บาท - ประจำเดือนตุลาคม 2561 จำนวน 14,910 บาท
        2. ค่าวัสดุสิ้นเปลืองทางการแพทย์ที่จำเป็น จำนวน 133,179 บาท
    - ครั้งที่ 1 จำนวน 48,188 บาท - ครั้งที่ 2 จำนวน 49,175 บาท - ครั้งที่ 3 จำนวน 35,816 บาท
    เหลือคืน กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 48,171 บาท ๔.๑ กิจกรรมการดำเนินงาน ของCare Manager โดยสรุป (๑) การประเมินภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ (๒) จัดทำแผนการพยาบาล Care plan
    (๓) ประชุมทีมสหวิชาชีพ วางแผนการช่วยเหลือ (๔) ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน ของ Care giver

    ๔.๒ กิจกรรมการดำเนินงานของ Care Giver โดยปฏิบัติงานตามแผนการพยาบาล ดังนี้ (๑) การฟื้นฟูด้านกายภาพบำบัด
    (๒) ประสานงานการทำบัตรผู้พิการ
    (๓) ประสานงานการส่งตรวจเลือด
    (๔) การดูแลการรับประทานอาหาร (๕) การดูแลสุขอนามัยทั่วไป

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา ได้รับการบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขตามแผนการดูแลรายบุคคล (CP) โดยบุคลากรที่เกี่ยวข้องและผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ณ ที่ครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการทางสุขภาพเชิงรุกตามแผนการพยาบาล
    0.00 100.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 74
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 74
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา ได้รับการบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขตามแผนการดูแลรายบุคคล (CP) โดยบุคลากรที่เกี่ยวข้องและผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ณ ที่ครัวเรือน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา ปี 2561 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 61-L7250-3-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวเอมอรไชยมงคลผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด