โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ”
ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะไทร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ที่อยู่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L8408-61-3-8 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L8408-61-3-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของเด็กปมวัยในศูนย์เด็กเล็กทุกคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ที่จะอยู่ร่วมกันในศูนย์อย่างมีความสุข มีความสะดวกสบาย สะอาด ถูกสุขลักษณะ มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการและความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม อีกทั้งมีการจัดการควบคุมขจัดหรือลด ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนั้นเพื่อเสริมสร้างสุขภาพและอนามัยเด็กจึงได้บูรณาการงานด้านการส่งเสริมสุขภาพและการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กเล็กโดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยให้ได้รับการส่งเสริมให้มีสุขภาพที่ดีอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้ ตลอดถึงได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมที่เหมาะสมสามารถอยู่ร่วมกับอื่นได้และเติบโตเป็นประชากรที่มีคุณค่าสำหรับประเทศต่อไป
ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดบ้านเกาะไทร จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและอนามัยของเด็กปมวัย จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ และเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ กระทรวงสาธารณสุข ด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชนท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และมาตรฐานการศึกษา (ขั้นพื้นฐาน) ศูนย์พัฒนาเด็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรฐานที่ 1 (ตัวบ่งชี้ที่ 1.5) มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชนมาตรฐานที่ ๑๐(ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๒) มีการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑๓ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๓.๖ มีความสะอาด และมาตรฐานที่ 19 ( ตัวบ่งชี้ที่ 19.1)มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและป้องกันตนเองไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดบ้านเกาะไทร จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัย
- 2. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัด องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
- 3. เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีชุดเครื่องมือการสร้างสุขนิสัยที่ดีเกี่ยวกับการทำความสะอาดและความปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน
- 4. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพและอนามัยที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก
- 2. กิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี
- 3. กิจกรรมหนูน้อยปลอดภัยห่างไกลโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและอนามัยเด็ก
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพและอนามัยที่ดีขึ้น
- ศูนย์พัฒนาเด็กมีชุดเครื่องมือส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็ก
- เด็กและผู้ปกครองเกิดความภาคภูมิใจในตนเองและผู้อื่น
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักการดูแลสุขภาพตนเองให้ห่างไกลโรคด้วยการล้างมือ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก
วันที่ 27 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก
171
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ จำนวน ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กหลังเข้ารับการอบรม
80.00
2
2. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัด องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระจำนวน ร้อยละ 85 มีสุขภาพและอนามัยที่ดีตามความเหมาะสมของช่วงอายุ
80.00
3
3. เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีชุดเครื่องมือการสร้างสุขนิสัยที่ดีเกี่ยวกับการทำความสะอาดและความปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระมีชุดเครื่องมือการสร้างสุขนิสัยที่ดีเกี่ยวกับการทำความสะอาดและความปลอดภัยที่ได้มาตรฐานศูนย์ละ 1 ชุด
80.00
4
4. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพและอนามัยที่ดี
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ จำนวนร้อยละ 90 มีสุขภาพและอนามัยที่ดีและปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัย (2) 2. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัด องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง (3) 3. เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีชุดเครื่องมือการสร้างสุขนิสัยที่ดีเกี่ยวกับการทำความสะอาดและความปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน (4) 4. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพและอนามัยที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก (2) 2. กิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี (3) 3. กิจกรรมหนูน้อยปลอดภัยห่างไกลโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L8408-61-3-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะไทร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ”
ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะไทร
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L8408-61-3-8 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L8408-61-3-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของเด็กปมวัยในศูนย์เด็กเล็กทุกคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ที่จะอยู่ร่วมกันในศูนย์อย่างมีความสุข มีความสะดวกสบาย สะอาด ถูกสุขลักษณะ มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการและความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม อีกทั้งมีการจัดการควบคุมขจัดหรือลด ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนั้นเพื่อเสริมสร้างสุขภาพและอนามัยเด็กจึงได้บูรณาการงานด้านการส่งเสริมสุขภาพและการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กเล็กโดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยให้ได้รับการส่งเสริมให้มีสุขภาพที่ดีอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้ ตลอดถึงได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมที่เหมาะสมสามารถอยู่ร่วมกับอื่นได้และเติบโตเป็นประชากรที่มีคุณค่าสำหรับประเทศต่อไป
ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดบ้านเกาะไทร จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพและอนามัยของเด็กปมวัย จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ และเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ กระทรวงสาธารณสุข ด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชนท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และมาตรฐานการศึกษา (ขั้นพื้นฐาน) ศูนย์พัฒนาเด็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรฐานที่ 1 (ตัวบ่งชี้ที่ 1.5) มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชนมาตรฐานที่ ๑๐(ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐.๒) มีการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑๓ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๓.๖ มีความสะอาด และมาตรฐานที่ 19 ( ตัวบ่งชี้ที่ 19.1)มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและป้องกันตนเองไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์มัสยิดบ้านเกาะไทร จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัย
- 2. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัด องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง
- 3. เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีชุดเครื่องมือการสร้างสุขนิสัยที่ดีเกี่ยวกับการทำความสะอาดและความปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน
- 4. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพและอนามัยที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก
- 2. กิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี
- 3. กิจกรรมหนูน้อยปลอดภัยห่างไกลโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 80 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและอนามัยเด็ก
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพและอนามัยที่ดีขึ้น
- ศูนย์พัฒนาเด็กมีชุดเครื่องมือส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็ก
- เด็กและผู้ปกครองเกิดความภาคภูมิใจในตนเองและผู้อื่น
- เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักการดูแลสุขภาพตนเองให้ห่างไกลโรคด้วยการล้างมือ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก |
||
วันที่ 27 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก
|
171 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ จำนวน ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กหลังเข้ารับการอบรม |
80.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัด องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระจำนวน ร้อยละ 85 มีสุขภาพและอนามัยที่ดีตามความเหมาะสมของช่วงอายุ |
80.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีชุดเครื่องมือการสร้างสุขนิสัยที่ดีเกี่ยวกับการทำความสะอาดและความปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระมีชุดเครื่องมือการสร้างสุขนิสัยที่ดีเกี่ยวกับการทำความสะอาดและความปลอดภัยที่ได้มาตรฐานศูนย์ละ 1 ชุด |
80.00 |
|
||
4 | 4. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพและอนามัยที่ดี ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ จำนวนร้อยละ 90 มีสุขภาพและอนามัยที่ดีและปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 80 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัย (2) 2. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัด องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง (3) 3. เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีชุดเครื่องมือการสร้างสุขนิสัยที่ดีเกี่ยวกับการทำความสะอาดและความปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน (4) 4. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพและอนามัยที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก (2) 2. กิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพดี (3) 3. กิจกรรมหนูน้อยปลอดภัยห่างไกลโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L8408-61-3-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเกาะไทร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......